ประวัติศาสตร์กฎหมาย: กรณีศึกษากฎหมายเปรียบเทียบการกำกับดูแลน้ำระหว่างกฎหมายล้านนาโบราณกับพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. 2561

No Thumbnail Available
Date
2020
Journal Title
Journal ISSN
Volume Title
Publisher
มหาวิทยาลัยพะเยา
Abstract
วิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงเอกสารผ่านมุมมองประวัติศาสตร์กฎหมาย โดยเปรียบเทียบเอกสารโบราณที่เกี่ยวกับการจัดการน้ำ และพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ.2561 โดยวิเคราะห์ผ่านหลักธรรมาภิบาล ความยุติธรรม และสิทธิในการเข้าถึงน้ำ โดยศึกษาเอกสารสำคัญ 3 ฉบับ คือ กฎหมายอาณาจักรหลักคำ (กฎหมายโบราณเมืองน่าน) กฎหมายมังรายศาสตร์ และกฎหมายปัจจุบัน เพื่อเปรียบเทียบ ซึ่งผลการวิเคราะห์เอกสารปรากฏความสอดคล้องกันของการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารทรัพยากรน้ำ และดำเนินการภายใต้หลักธรรมาภิบาลการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อความยุติธรรม เท่าเทียมและคำนึงถึงสิทธิในการเข้าถึงน้ำ
Description
This research is a documentary study through the perspective of legal history by comparing ancient documents related to irrigation system and the Water Resources Act B.E. 2561 (2018) through analysis of good governance, fairness and Water's rights. This research makes comparative method to study the three mains important documents which are The Lak-kum Law (Law of ancient Nan, The Mungrai-Sart Law, and the Water Resources Act B.E. 2561. The results of the document analysis show that the water resources management under the current law is consistency to principle of good governance, fair and just for all people considering the right to access water
Keywords
หลักธรรมาภิบาล, พระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. 2561, ระบบเหมืองฝาย, การมีส่วนร่วม, ความยุติธรรม, Good governance, The water resources act B.E. 2561, Ancient irrigation system, Participation, Justice
Citation
หัสยา มาระวัง. (2564). ประวัติศาสตร์กฎหมาย: กรณีศึกษากฎหมายเปรียบเทียบการกำกับดูแลน้ำระหว่างกฎหมายล้านนาโบราณกับพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. 2561. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยพะเยา]. ฐานข้อมูลคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยพะเยา (UP Digital Collections: UPDC).