ผลสัมฤทธิ์ของการนำนโยบายแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน ปี 2566 ไปปฏิบัติในพื้นที่อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย
dc.contributor.author | อรรถพล คงคา | |
dc.date.accessioned | 2024-09-24T05:10:10Z | |
dc.date.available | 2024-09-24T05:10:10Z | |
dc.date.issued | 2023 | |
dc.description | This research aims 1) to examine public participation that influences the achievement of policy implementation, 2) to study process model of policy implementation and, 3) to present guidelines on improving wildfire and haze policy implementation in Mae Sai district, Chiang rai. This mixed research distributed questionnaires to 398 citizens of Mae Sai, Chaing Rai. In addition, 15 government officers from related agencies were interviewed. The statistics employed in data analysis were percentage, frequency, mean, standard deviation, and multiple regression. The findings revealed that 1) public participation influenced the achievement of policy implementation, 2) in accordance with wildfire and haze policy, it can be seen that the consistent with problem-focused, clarity of policy goals, resource availability, organizational communication, personnel resources, agency characteristics, and participation of all sectors, these all played a main role influencing the achievement of wild fire and haze policy implementation, and 3) the solutions were presented as creating a clear integrated work path, revising policy and procedure with emphasizing on problem root, and involving public participation and offers full consideration to public input in making the decision. | |
dc.description.abstract | การศึกษามีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อวิเคราะห์อิทธิพลของการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อผลสัมฤทธิ์ 2) เพื่อศึกษาตัวแบบกระบวนการนำนโยบายแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน ปี 2566 ไปปฏิบัติ 3) เพื่อเสนอแนวทางการปรับปรุงการนำนโยบายไปปฏิบัติ เป็นการศึกษาแบบผสมผสาน โดยการวิจัยเชิงปริมาณแจกแบบสอบถามกับประชาชนในพื้นที่อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย จำนวน 398 คน และการวิจัยเชิงคุณภาพผู้ให้ข้อมูล คือ ข้าราชการของหน่วยงานที่มีหน้าที่และมีส่วนเกี่ยวข้องในการนำนโยบายแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน ปี 2566 ไปปฏิบัติในพื้นที่อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย โดยใช้แบบสัมภาษณ์ จำนวน 15 ราย สถิติ คือ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่า 1) การมีส่วนร่วมของประชาชนด้านการรับผลประโยชน์และการประเมินผล มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ของการนำนโยบายแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน ปี 2566 ไปปฏิบัติที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 2) การนำนโยบายแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน ปี 2566 มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหา ดำเนินการโดยมีความพร้อมของทรัพยากร การติดต่อสื่อสารระหว่างองค์การ และความร่วมมือร่วมใจกันของทุกภาคส่วน และ 3) ข้อเสนอ คือ กำหนดแนวทางการทำงานแบบบูรณาการให้ชัดเจน การปรับปรุงนโยบายโดยเน้นการแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ และเพิ่มกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดนโยบายและรูปแบบการนำนโยบายไปปฏิบัติ | |
dc.description.sponsorship | มหาวิทยาลัยพะเยา | |
dc.identifier.citation | อรรถพล คงคา. (2566). ผลสัมฤทธิ์ของการนำนโยบายแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน ปี 2566 ไปปฏิบัติในพื้นที่อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยพะเยา]. ฐานข้อมูลคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยพะเยา (UP Digital Collections: UPDC). | tha |
dc.identifier.uri | https://updc.up.ac.th/handle/123456789/775 | |
dc.language.iso | other | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยพะเยา | |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ | |
dc.subject | การมีส่วนร่วม | |
dc.subject | นโยบายแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน | |
dc.subject | Achievement | |
dc.subject | Participation | |
dc.subject | Wildfire and haze policy implementation | |
dc.title | ผลสัมฤทธิ์ของการนำนโยบายแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน ปี 2566 ไปปฏิบัติในพื้นที่อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย | |
dc.title.alternative | The Achievement of Implementation on Wildfire and Haze Policy in Mae Sai District, Chiang Rai Province | |
dc.type | Thesis |