การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการลดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าของระบบดิจิตอลไมโครฟลูอิดิกส์
No Thumbnail Available
Date
2017
Authors
Journal Title
Journal ISSN
Volume Title
Publisher
มหาวิทยาลัยพะเยา
Abstract
งานวิจัยนี้เราได้ศึกษาและประดิษฐ์ชิปของไหลจุลภาคดิจิทอล โดยศึกษาปัจจัยสำคัญที่เกี่ยวข้องต่อการเปลี่ยนแปลงมุมสัมผัสของหยดของเหลว ได้แก่ พื้นที่อิเล็กโทรด สารเคลือบชั้นไฮโดรโฟรบิก ระยะห่างระหว่างอิเล็กโทรด และความหนาชั้นไดเล็กทริก โดยมีรูปแบบชิบเป็นแบบแผ่นเดียว โดยสร้างอิเล็กโทรดจากแผ่นทองแดงสำหรับทำลายวงจร ใช้พอลิเมอร์ PDMS เป็นชั้นไดเล็กทริก และน้ำมันเป็นชั้นไฮโดรโฟรบิก ผลการทดลองพบว่า พื้นที่อิเล็กโทรดที่เหมาะสมสำหรับหยดของเหลวปริมาตร 20 ไมโครลิตร คือ 3x3 มิลลิเมตร สารเคลือบชั้นไฮโดรโฟรบิกน้ำมันที่ทำให้มุมสัมผัสเริ่มต้นสูงสุด คือ น้ำมันเคลือบผมทานตะวัน สำหรับระยะห่างระหว่างอิเล็กโทรด เมื่อระยะห่างระหว่างอิเล็กโทรดเพิ่มขึ้น ทำให้ศักย์ไฟฟ้าที่ใช้เปลี่ยนแปลงมุมสัมผัสเพิ่มขึ้นเช่นกัน และพบว่า ความหนาชั้นไดเล็กทริกลดลง ทำให้ศักย์ไฟฟ้าที่ใช้เปลี่ยนแปลงมุมสัมผัสต่ำลงด้วยเช่นกัน
Description
In this research, we studied and fabricated single plate digital microfluidics (DMF) chip. The parameters associated to changes the contact angle of liquid droplets on dielectric were investigates including electrode area, hydrophobic layer, electrode gap, thickness of dielectric layer. Printed circuit board was developed and used as electrodes, dielectric layer and hydrophobic layer are made of polymeric PDMS and natural oil. The results showed that a suitable electrode area for liquid droplet volume of 20is 3x3 mm. Hair-coat sunflower oil is the best for spinning hydrophobic layer with maximum initial contact angle. It was found that the decreasing the electrode gap the decrease the applied voltage. Also, found that the thinner thickness of the dielectric layer using a smaller applied voltage
Keywords
Electrowetting, Contact angle, Dielectric, Microfluidics
Citation
จิรวัฒน์ ศรีธิวรรณ์. (2560). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการลดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าของระบบดิจิตอลไมโครฟลูอิดิกส์. [ปริญญานิพนธ์ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยพะเยา.