การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการเรียนรู้ด้วยการรับใช้สังคมร่วมกับการใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะการแก้ปัญหาและความตระหนักต่อสิ่งแวดล้อม สำหรับนักเรียนในพื้นที่เสี่ยงภัยด้านสิ่งแวดล้อม

dc.contributor.authorสุริยา บุดดี
dc.date.accessioned2024-10-24T04:26:20Z
dc.date.available2024-10-24T04:26:20Z
dc.date.issued2023
dc.descriptionThe objectives of this research were; 1) to study the initial information in order to develop an instructional model. 2) to develop and find the efficiency of the instructional model. 3) to compare problem solving skills of the students before and after learning using the instructional model. 4) to compare the students’ awareness toward the environment before and after learning using the instructional model. 5) to study the opinions of the students towards the instructional model. Sampling population was 26 students in grade 12 of the Science Math program of WeangKean Witthayakhom School in the first semester of the education year 2022 which was under The Secondary Education Service Area Office Chiang Rai ; using the Purposive Random Sampling. Tools of the research were 1) instructional model based on service learning and problem-based learning. 2) Problem solving skills achievement survey 3) Environmental awareness aptitude survey. 4) Students opinion questionnaire towards the instructional model. Data analysis were the mean value, standard deviation, percentage and dependent T-test. The researcher found that: 1) The existing environmental problems in WeangKean District comprises of 2 parts; the pollutions of the environment, which were the residue of certain chemicals in the natural water and the deposition of soil settlement in the natural water resources. and the high level of impact of the environmental problems to the physical health of the people. 2) The instructional model, consists of 5 parts as follows; the overview, the objectives, the contents of the study, the process and procedure and the assessment and the evaluation. Overall evaluation was found to be in a level of high satisfaction. (average = 4.62) 3) The problem-solving skills of the students have a higher mean compared to before the study with a statistics significance of .01 and the overall assessment was found to be high level at 85.40%. 4) The environmental awareness of the students was found to have a statistics significance of 0.01 whereas the environmental awareness were at the highest at 90.80% 5) The overall opinion of the students who took part in the study was found to be at the highest level. (average = 4.63)
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน 2) สร้างและหาคุณภาพของรูปแบบการเรียนการสอน 3) เปรียบเทียบทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอน 4) เปรียบเทียบความตระหนักต่อสิ่งแวดล้อมของนักเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอน 5) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนการสอน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเวียงแก่นวิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 1 ห้องเรียนได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จำนวน 26 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการเรียนรู้ด้วยการรับใช้สังคมร่วมกับการใช้ปัญหาเป็นฐาน 2) แบบวัดทักษะการแก้ปัญหา 3) แบบวัดความตระหนักต่อสิ่งแวดล้อม 4) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนการสอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ และการทดสอบค่าที (T-test dependent) ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันปัญหาสิ่งแวดล้อมในอำเภอเวียงแก่น มี 2 ด้าน คือ ด้านปัญหาสิ่งแวดล้อม ได้แก่ สารเคมีตกค้างในน้ำและน้ำตื้นเขินระดับมากที่สุด และด้านผลกระทบของปัญหา ได้แก่ กระทบต่อสุขภาพร่างกายมนุษย์ระดับมาก 2) รูปแบบการเรียนการสอน มี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ หลักการ เป้าหมายสาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผล ภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.62 3) ทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียน มีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ภาพรวมอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 85.40 4) ความตระหนักต่อสิ่งแวดล้อมของนักเรียน มีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 90.80 5) ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนการสอน ภาพรวมมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุดค่าเฉลี่ย 4.63
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.identifier.citationสุริยา บุดดี. (2566). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการเรียนรู้ด้วยการรับใช้สังคมร่วมกับการใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะการแก้ปัญหาและความตระหนักต่อสิ่งแวดล้อม สำหรับนักเรียนในพื้นที่เสี่ยงภัยด้านสิ่งแวดล้อม. [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยพะเยา]. ฐานข้อมูลคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยพะเยา (UP Digital Collections: UPDC).
dc.identifier.urihttps://updc.up.ac.th/handle/123456789/924
dc.language.isoother
dc.publisherมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.subjectการเรียนรู้ด้วยการรับใช้สังคม
dc.subjectการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
dc.subjectความตระหนักต่อสิ่งแวดล้อม
dc.subjectทักษะการแก้ปัญหา
dc.subjectพื้นที่เสี่ยงภัย
dc.subjectรูปแบบการเรียนการสอน
dc.subjectInstructional Model
dc.subjectService Learning
dc.subjectProblem Based Learning
dc.subjectProblem Solving Skill
dc.subjectAwareness towards the Environment
dc.subjectImpacted Area
dc.titleการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการเรียนรู้ด้วยการรับใช้สังคมร่วมกับการใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะการแก้ปัญหาและความตระหนักต่อสิ่งแวดล้อม สำหรับนักเรียนในพื้นที่เสี่ยงภัยด้านสิ่งแวดล้อม
dc.title.alternativeThe Development of an Instructional Model Based on Service Learning With Problem Based Learning to Enhance Problem-Solving Skill and The Awareness Towards the Environment for Students in an Environmental Impacted Area
dc.typeThesis
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
Suriya Budde.pdf
Size:
4.77 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed to upon submission
Description: