การระบุเลขออกซิเดชันของสารหนู (V) โดยใช้เทคนิคซินโครตรอนเบส เอ็กสเรย์สเปกโทสโกปี
dc.contributor.author | กาญจนา สอนวดี | |
dc.contributor.author | กรวุฒิ จำเริญพัฒน์ | |
dc.date.accessioned | 2024-12-23T07:16:24Z | |
dc.date.available | 2024-12-23T07:16:24Z | |
dc.date.issued | 2019 | |
dc.description | In this research, a synthetic method of TiO2/Fe2O3 bimetallic composites was done using co-precipitating and ultrasonicating processes with ethanol and water mixing solvent at 1:1 v/v ratio. Additionally, TiO2/Fe2O3 bimetallic composites from the synthetic method were characterized using x-ray diffraction. The results showed TiO2 position at 2θ = 29.5°, 43.2°, 45. 2°, 56.5°, 63.5° and Fe2O3 position at 2θ = 28.2°, 38.8°, 41.8°, 47.8° and 58.2°. These results can be used to confirm the synthetic method can mix TiO2 and Fe2O3 . Furthermore, the synthesized bimetallic composites were brought to study the absorption spectra using UV-visible spectroscopy and found the absorption spectra of the composites at wavelength 370 nm which were in UV range. The oxidation states of arsenic were identified using synchrotron-based x-ray absorption spectroscopy and the K-edge energy, 0E of As(V) normalized, 1st derivative, 2nd derivative, R-space at 11877.77 eV, 11876.35 eV, 11877.68 eV and 1.30865 Å respectively. This evidence can be used as the basic information for specify arsenic oxidation states adsorbed on TiO2, Fe2O3 or TiO2/Fe2O3 bimetallic composites. The studied method can be applied to prepare TiO2/Fe2O3 bimetallic composites, and the bimetallic composites could possibly use for photo-reaction and further adsorption of arsenic from natural water. | |
dc.description.abstract | ในงานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาการสังเคราะห์ TiO2/FeSO4 bimetallic composites ซึ่งใช้วิธีการสังเคราะห์การตกตะกอนร่วมกับคลื่นอัลตร้าโซนิค โดยใช้ตัวทำละลายเป็นเอทานอลและน้ำ ในอัตราส่วน 1:1 สาร bimetallic composite ที่ได้จากการสังเคราะห์นี้นำไปศึกษาคุณลักษณะด้วยเทคนิคเอกซเรย์ดิฟแฟรกโทมิเตอร์ พบตำแหน่งของ TiO2 ที่ 2θ = 29.5°, 43.2°, 45. 2°, 56.5°, 63.5° และพบตำแหน่งของ Fe2O3 ที่ 2θ = 28.2°, 38.8°, 41.8°, 47.8° และ 58.2° ซึ่งจะยืนยันว่าวิธีการสังเคราะห์ในครั้งนี้ สามารถสังเคราะห์สารผสมระหว่าง TiO2 และ Fe2O3 ได้และทำการศึกษาข้อมูลทางสเปกโทรสโกปี โดยใช้เทคนิค ยูวี-วิสิเบิลสเปกโทรโฟโตมิเตอร์ พบช่วงการดูดแสงอยู่ที่ 370 นาโนเมตร ซึ่งอยู่ในช่วงของคลื่นยูวี นอกจากนี้ได้ทำการระบุเลขออกซิเดชัน โดยเทคนิคเอกซเรย์แอบซอร์ปชันสเปกโทรสโกปี พบตำแหน่งของค่า °E ของสารหนู (V) มีค่า normalized, 1st derivative, 2nd derivative, R-space ที่ 11877.77 eV, 11876.35 eV, 11877.68 eV และ 1.30865 Å ตามลำดับ ซึ่งข้อมูลนี้สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการบ่งชี้ถึงชนิดของสารหนูในสารตัวอย่างที่ถูกดูดซับบน TiO2 หรือ Fe2O3 และ bimetallic composite ได้ จากการศึกษาวิธีการสังเคราะห์ TiO2/FeSO4 bimetallic composites ในอนาคตอาจมีการนำไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในปฏิกิริยาทางแสงได้ และใช้ในการกำจัดสารหนูที่ปนเปื้อนอยู่ในธรรมชาติได้ | |
dc.description.sponsorship | มหาวิทยาลัยพะเยา | |
dc.identifier.citation | กาญจนา สอนวดี และกรวุฒิ จำเริญพัฒน์. (2562). การระบุเลขออกซิเดชันของสารหนู (V) โดยใช้เทคนิคซินโครตรอนเบส เอ็กสเรย์สเปกโทสโกปี. [ปริญญานิพนธ์ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยพะเยา. | |
dc.identifier.uri | https://updc.up.ac.th/handle/123456789/1155 | |
dc.language.iso | other | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยพะเยา | |
dc.subject | TiO2/Fe2O3 ไบเมทัลลิกคอมโพสิท | |
dc.subject | สภาวะออกซิเดชัน | |
dc.subject | สารหนู | |
dc.subject | เทคนิคเอกซ์เรย์ดิฟแฟรกชันสเปกโทรสโคปี | |
dc.subject | เทคนิคยูวี-วิสิเบิลสเปกโทรโฟโตมิเตอร | |
dc.subject | เทคนิคเอ็กซ์เรย์แอบซอร์บชันสเปกโทรสโกป | |
dc.subject | การตกตะกอนร่วม | |
dc.title | การระบุเลขออกซิเดชันของสารหนู (V) โดยใช้เทคนิคซินโครตรอนเบส เอ็กสเรย์สเปกโทสโกปี | |
dc.title.alternative | Identification of as (V) Using Synchrotron Based X-Ray Absorption Spectroscopy | |
dc.type | Other |