ผลกระทบของชั้นปลอดประจุพาหะ n-p บนหัวตรวจจับก๊าซซิงค์ออกไซด์ต่อก๊าซอะซีโตน

dc.contributor.authorชมพูนุช ทับเอม
dc.date.accessioned2024-12-02T09:04:39Z
dc.date.available2024-12-02T09:04:39Z
dc.date.issued2017
dc.descriptionZinc oxide (ZnO) is a substance that has a great treasure to detect gases such as ethanol acetone and etc. gas detector nanostructures of zinc oxide created easily by using powder zinc oxide (ZnO) made from a synthetic process current Heating. Coat on the interdigital and heating the temperature 350 ˚C for 2 hours. After that study response to acetone gas at the quantity 50-500 ppm and the operating temperature 250-350 ˚C. After that doping Cu Nanoparticle from DC Arc-Dis- charge method at the quantity 0.5 μl -3.00 ul to study n-p depletion layer effect on ZnO/CuO gas sensor to acetone gas. Experimental results found that sensitivity depending on quantity of Cu Nanoparticles, acetone gas and temperature.
dc.description.abstractสารซิงค์ออกไซด์ (ZnO) เป็นสารที่มีสมบัติที่ดีในการใช้การตรวจจับก๊าซ เช่น ก๊าซเอทานอล ก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์ ก๊าซไนตรัสออกไซด์ หรือ ก๊าซอะซีโตน เป็นต้น ก๊าซอะซีโตน (C3 H6O) เป็นสารเคมีที่มีความไวไฟสูงและเป็นก๊าซที่ระเหยง่าย และมีผลต่อระบบทางเดินหายใจทำให้เกิดการไอหรือเวียนศีรษะ เมื่อสูดดมเป็นเวลานานหัวตรวจจับก๊าซจากสารโครงสร้างนาโนซิงค์ออกไซด์สร้างขึ้นได้ง่าย โดยการใช้ผงซิงก์ออกไซด์ (ZnO) ที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์แบบ Current Heating ทำบนแผ่นรองรับอินเตอร์ดิจิตอลและนำไปให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 350 ๐C เป็นเวลา 2 ชั่วโมง จากนั้นได้ศึกษาสมบัติการตอบสนองต่อก๊าซอะซิโตนที่ระดับความเข้มข้น 50-500 ppm ที่อุณหภูมิปฏิบัติการ 250-350 ๐C จากนั้นทำการโดปหัวตรวจจับก๊าซซิงค์ออกไซด์ด้วยนาโนคอปเปอร์ที่ได้จากวิธีการเตรียมแบบ DC Arc-Dis-Charge ปริมาณที่ใช้อยู่ในช่วง 0.50-3.00 μl เพื่อศึกษาผลกระทบของชั้นปลอดประจุพาหะ n-p บนหัวตรวจจับก๊าซซิงค์ออกไซด์ต่อก๊าซอะซิโตนที่ระดับความเข้มข้นตั้งแต่ 50-500 ppm ที่อุณหภูมิปฏิบัติการ 250-350 ๐C จากผลการทดลองค่าสภาพไวที่ได้ขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงของชั้น depletion layer ระดับความเข้มข้นของก๊าซอะซิโตน ปริมาณของนาโนคอปเปอร์ ที่โดปบนหัวตรวจจับก๊าซ และอุณหภูมิปฏิบัติการจากนั้น ได้หาความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างค่าสภาพไว และค่าระดับความเข้มข้น เพื่อใช้วิเคราะห์ประสิทธิภาพและคุณภาพของหัวตรวจจับก๊าซที่ถูกสร้างขึ้น
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.identifier.citationชมพูนุช ทับเอม. (2560). ผลกระทบของชั้นปลอดประจุพาหะ n-p บนหัวตรวจจับก๊าซซิงค์ออกไซด์ต่อก๊าซอะซีโตน. [ปริญญานิพนธ์ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยพะเยา.
dc.identifier.urihttps://updc.up.ac.th/handle/123456789/1064
dc.language.isoother
dc.publisherมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.subjectก๊าซซิงค์ออกไซด์
dc.subjectก๊าซอะซีโตน
dc.subjectZnO-CuO gas
dc.subjectacetone gas
dc.titleผลกระทบของชั้นปลอดประจุพาหะ n-p บนหัวตรวจจับก๊าซซิงค์ออกไซด์ต่อก๊าซอะซีโตน
dc.title.alternativeN-P Depletion Layer Effect on ZnO-CuO Gas Sensor to Acetone Gas
dc.typeOther
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
ติดต่อ งานส่งเสริมการเรียนรู้สารสนเทศดิจิทัล.pdf
Size:
46.82 KB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed to upon submission
Description: