การกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดินพื้นที่สังคมป่าเต็งรัง มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา

dc.contributor.authorศุจีภรณ์ กุนแสง
dc.date.accessioned2024-11-26T06:59:23Z
dc.date.available2024-11-26T06:59:23Z
dc.date.issued2018
dc.descriptionCarbon storage aboveground biomass in Biomass Area of Dipterocarp Forest, University of Phayao, Phayao, evaluate carbon storage value and kept information of plant species. The areas study was 4,800 m2 surveyed by the quadrat method at 3 stations. Aboveground biomass was calculated using allometric equations for Carbon storage assessment, including important value index (IVI) from 18 families, 41 species, 943 individuals. Total aboveground biomass was 372,879.3 t. ha-1 Carbon storage value was 179,557.9 tC. ha-1 The highest important value index (IVI) tree was Dipterocarpus tuberculatus Roxb. (77.40) followed by Shorea obtusa Wall. ex-Blume. (64.76), Pentacme siamensis (Miq.) Kurz. (37.59), and Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq. (23.04) respectively. Species diversity was 2.19, species richness was 6.86 and species evenness was 0.59. Relationship analysis of Physical factors on the amount of carbon storage are in the opposite direction at -0.33 which has a moderate opposite relationship.
dc.description.abstractการประเมินการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดินพื้นที่สังคมป่าเต็งรัง มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา ศึกษาเพื่อประเมินปริมาณการกักเก็บคาร์บอน และเพื่อเก็บข้อมูลตัวอย่างพรรณไม้ ทำการสารวจพื้นที่ทั้งหมด 4,800 ตารางเมตร โดยวิธีการวางแปลงตัวอย่าง 3 สถานี คำนวณมวลชีวภาพเหนือพื้นดินโดยใช้สมการแอลโลเมตรี (Allometric) ประเมินปริมาณการกักเก็บคาร์บอน วิเคราะห์องค์ประกอบและความสำคัญของพรรณไม้ (Important Value Index, IVI) ผลการสำรวจพบว่า พบพรรณไม้ใน 18 วงศ์ 41 ชนิด จำนวน 943 ต้น มีมวลชีวภาพรวมเท่ากับ 372,879.3 t.ha-1 มีการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพรวมเท่ากับ 179,557.9 tC.ha-1 ดัชนีความสำคัญของพรรณไม้สูงสุด คือ พลวง (Dipterocarpus tuberculatus Roxb.) (77.40) รองลงมา คือ เต็ง (Shorea obtusa Wall. ex Blume.) (64.76) รัง (Pentacme siamensis (Miq.) Kurz.) (37.59) และเหียง (Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq.) (23.04) ตามลำดับ ดัชนีความสำคัญเชิงสังคม ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (Species Diversity) เท่ากับ 2.19 ความมากหลายของชนิดพันธุ์ (Species Richness) เท่ากับ 6.86 และความสม่ำเสมอของชนิดพันธุ์ (Species Evenness) เท่ากับ 0.59 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัจจัยทางกายภาพต่อปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเป็นไปในทางตรงกันข้ามที่ระดับ -0.33 มีความสัมพันธ์ทางตรงกันข้ามในระดับปานกลาง
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.identifier.citationศุจีภรณ์ กุนแสง. (2561). การกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดินพื้นที่สังคมป่าเต็งรัง มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา. [ปริญญานิพนธ์ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยพะเยา.
dc.identifier.urihttps://updc.up.ac.th/handle/123456789/1024
dc.language.isoother
dc.publisherมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.subjectปริมาณการกักเก็บคาร์บอน
dc.subjectมวลชีวภาพ
dc.subjectป่าเต็งรัง
dc.subjectCarbon Stock
dc.subjectBiomass
dc.subjectDipterocarp forest
dc.titleการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดินพื้นที่สังคมป่าเต็งรัง มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา
dc.title.alternativeCarbon Storage in Biomass Area of Dipterocarp Forest University of Phayao, Province
dc.typeOther
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
ติดต่อ งานส่งเสริมการเรียนรู้สารสนเทศดิจ.pdf
Size:
46.82 KB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed to upon submission
Description: