แบบจำลองแก๊สแชปลีจินแฟนธอมกฎกำลัง
dc.contributor.author | สุรศักดิ์ มีเทศ | |
dc.date.accessioned | 2024-12-03T09:29:59Z | |
dc.date.available | 2024-12-03T09:29:59Z | |
dc.date.issued | 2020 | |
dc.description | Recently, we knew that our universe is in the accelerated expansion phase and this behavior is responsible by the dark energy. There are many models have been proposed to explain the expansion of the universe. We are studying the Chaplygin Gas model, one of many proposed models, combined a power law model, a ∼ tα, and phantom power law model, a ∼ (ts − t)β. We study the deceleration parameter at present q0, equation of state w0, and the last parameter the power law exponents, α and β. We use the datasets from WMAP9 and PLACK2018 to calculate these parameters value. For the Chaplygin Gas with power law we obtained q0 > 0, α < 1 for both datasets. The equation of state parameter w0 = −A/(A+B) depending only on the constants A and B. The values of the equation of state can approach to −1 when A → 1,B → 0 or A ≫ B and at the present w0 > −1. Therefore, the Chaplygin Gas with power law model cannot be used to describe the accelerated expansion of the universe. For the Chaplygin Gas with phanton power law we found that q0 < 0, β < 0 for both datasets. The equation of state at present w0 can be −1 when A → 1 and B → 0 or A ≫ B. Therefore, the Chaplygin Gas with phantom power law can be able to have a chance to use to described the accelerating expansion of the universe | |
dc.description.abstract | ปัจจุบันพบว่า เอกภพมีการขยายตัวแบบเร่งออก เชื่อว่าเป็นผลมาจากพลังงานมืด และมีการนำเสนอแบบจำลองมากมายมาอธิบายการขยายตัวแบบเร่งออกของเอกภพ เราสนใจศึกษาแบบจำลองแก๊สแชปลีจินซึ่งเป็นหนึ่งในแบบจำลองที่มีการเสนอขึ้นมา โดยนำแบบจำลองแก๊สแชปลีจินรวมกับแบบจำลองกฎกำลัง a ∼ tα และแบบจำลองแฟนธอมกฎกำลัง a ∼ (ts − t)β โดยศึกษาค่าพารามิเตอร์ความหน่วงปัจจุบัน q0, สมการสถานะ w0, ค่าเลขชี้กำลัง α และ β โดยใช้ข้อมูลจากยานสำรวจอวกาศ WMAP9 และ PLANCK 2018 พบว่า แบบจำลองแก๊สแชปลีจินกฎกำลังให้ค่า q0 > 0, α < 1 และสมการสถานะ w0 = −A/ (A + B) จะขึ้นอยู่กับค่าคงที่ A และ B เท่านั้น และค่าสมการสถานะมีโอกาสเป็น −1 ได้ที่A → 1 และ B → 0 หรือ A ≫ B ซึ่งค่าปัจจุบันสมการสถานะทั้งหมดจะมีค่ามากกว่า −1 จากพารามิเตอร์ทั้งสาม พบว่า ให้ค่าไม่สอดคล้องกับการขยายตัวแบบเร่งออกของเอกภพ ทำให้แบบจำลองแก๊สแชปลีจินกฎกำลังไม่สามารถใช้อธิบายการขยายตัวแบบเร่งออกของเอกภพได้ สำหรับแบบจำลองแก๊สแชปลีจินแฟนธอมกฎกำลัง พบว่า q0 < 0, β < 0 และสมการสถานะปัจจุบัน w0 มีโอกาสเป็น −1 ได้เมื่อ A → 1 และ B → 0 ทำให้แบบจำลองแก๊สแชปลีจินแฟนธอมกฎกำลัง มีโอกาสที่จะสามารถใช้อธิบายการขยายตัวแบบเร่งออกของเอกภพได้ | |
dc.description.sponsorship | มหาวิทยาลัยพะเยา | |
dc.identifier.citation | สุรศักดิ์ มีเทศ. (2563). แบบจำลองแก๊สแชปลีจินแฟนธอมกฎกำลัง. [ปริญญานิพนธ์ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยพะเยา. | |
dc.identifier.uri | https://updc.up.ac.th/handle/123456789/1069 | |
dc.language.iso | other | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยพะเยา | |
dc.subject | แก๊สแชปลีจิน | |
dc.subject | แฟนธอมกฎกำลัง | |
dc.subject | เอกภพที่เร่งออก | |
dc.subject | Chaplygin Gas | |
dc.subject | Accelerating Universe | |
dc.subject | Phantom PowerLaw | |
dc.title | แบบจำลองแก๊สแชปลีจินแฟนธอมกฎกำลัง | |
dc.title.alternative | Chaplygin Gas with Phantom PowerLaw Dark Energy Model | |
dc.type | Other |