การศึกษาและเปรียบเทียบคุณสมบัติวัสดุรองนอนจากลำต้นเทียมกล้วย ไผ่ ใยมะพร้าว และขี้เลื่อย โดยใช้ทดสอบในหนูแฮมสเตอร์

dc.contributor.authorวรากร เกษมราษฎร์
dc.contributor.authorวโรชา รักโสม
dc.date.accessioned2024-11-28T05:06:32Z
dc.date.available2024-11-28T05:06:32Z
dc.date.issued2020
dc.descriptionThe study and comparison of bedding properties from artificial banana stem, bamboo, coconut husk, and sawdust aim to study and compare the physical properties such as moisture, open porosity, water absorption by weight, apparent porosity, bulk density, loss of accelerated moisture and moisture loss, and then testing the properties in hamster behavior including, satisfied behavior over four types of bedding. From the result found that artificial banana stem had the highest properties of water adsorption by weight, bulk density, apparent porosity and open porosity. Bamboo was chosen by hamsters in this experiment by male hamsters spend time average 398 seconds in bedding. The frequency times that hamsters come in and out of bamboo bedding by female hamster average was 26 times and male hamster average was 11 times. This study concludes that bedding from local material including artificial banana stem, bamboo and coconut husk is able to certainly instead of commercial bedding
dc.description.abstractการศึกษาและเปรียบเทียบคุณสมบัติวัสดุรองนอนจากลำต้นเทียมกล้วย ไผ่ ใยมะพร้าว และขี้เลื่อย โดยใช้ทดสอบในหนูแฮมสเตอร์ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพของวัสดุรองนอนที่เป็นวัสดุทางการค้า (ขี้เลื่อย) และวัสดุรองนอนที่ทำมาจากวัสดุท้องถิ่น (ลำต้นเทียมกล้วย ไผ่ และใยมะพร้าว) โดยวิเคราะห์ปริมาณความชื้น ปริมาตรรูพรุนเปิด การดูดซึมน้ำโดยน้ำหนัก ความพรุนปรากฏ ความหนาแน่นกอง การสูญเสียความชื้นสะสม และการสูญเสียความชื้น จากนั้นนำไปทดสอบคุณสมบัติของวัสดุรองนอนต่อพฤติกรรมและความพึงพอใจของหนูแฮมสเตอร์ จากผลการทดลองพบว่า ลำต้นเทียมกล้วยมีคุณสมบัติการดูดซึมน้ำโดยน้ำหนัก ความหนาแน่นกอง ความพรุนปรากฏ และปริมาตรรูพรุนเปิดมากที่สุด ไผ่เป็นวัสดุรองนอนที่ถูกเลือกทั้งการทดสอบระยะเวลาที่หนูแฮมสเตอร์อยู่ในวัสดุรองนอนในเพศผู้ใช้ระยะเวลาเฉลี่ย 398 วินาที และการทดสอบจำนวนครั้งที่หนูแฮมสเตอร์เข้า – ออกวัสดุรองนอน พบว่า เพศเมียเฉลี่ย 26 ครั้ง และในเพศผู้เฉลี่ย 11 ครั้ง ผลการศึกษานี้สรุปได้ว่าวัสดุรองนอน 3 ชนิด ที่เป็นวัสดุท้องถิ่น คือ ลำต้นเทียมกล้วย ไผ่ และใยมะพร้าว เมื่อเปรียบเทียบกับขี้เลื่อยแล้วสามารถนำมาใช้เป็นวัสดุรองนอนในสัตว์เลี้ยงได้จริง และสามารถใช้ทดแทนวัสดุรองนอนทางการค้า
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.identifier.citationวรากร เกษมราษฎร์ และวโรชา รักโสม. (2563). การศึกษาและเปรียบเทียบคุณสมบัติวัสดุรองนอนจากลำต้นเทียมกล้วย ไผ่ ใยมะพร้าว และขี้เลื่อย โดยใช้ทดสอบในหนูแฮมสเตอร์. [ปริญญานิพนธ์ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยพะเยา.
dc.identifier.urihttps://updc.up.ac.th/handle/123456789/1036
dc.language.isoother
dc.publisherมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.subjectวัสดุรองนอน
dc.subjectหนูแฮมสเตอร์
dc.subjectลำต้นเทียมกล้วย
dc.subjectไผ่
dc.subjectใยมะพร้าว
dc.subjectมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.subjectbedding
dc.subjecthamster
dc.subjectartificial banana stem
dc.subjectbamboo culm
dc.subjectcoconut husk
dc.subjectUniversity of Phayao
dc.titleการศึกษาและเปรียบเทียบคุณสมบัติวัสดุรองนอนจากลำต้นเทียมกล้วย ไผ่ ใยมะพร้าว และขี้เลื่อย โดยใช้ทดสอบในหนูแฮมสเตอร์
dc.title.alternativeStudy and Comparison of Bedding Properties Made from Banana Pseudo-Stem, Bamboo, Coconut Husk and Sawdust by Testing in Hamster
dc.typeOther
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
ติดต่อ งานส่งเสริมการเรียนรู้สารสนเทศดิจ.pdf
Size:
46.82 KB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed to upon submission
Description: