การศึกษาความหลากหลายของยีสต์จากดินบริเวณมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.contributor.author | ทัดดาว อินทร์ประสิทธิ์ | |
dc.date.accessioned | 2024-04-19T07:02:22Z | |
dc.date.available | 2024-04-19T07:02:22Z | |
dc.date.issued | 2022 | |
dc.description | This study was to explore yeast diversity. Yeast strains were isolated and identified from soil in Plant Genetic Conservation Center at University of Phayao. The 24 samples were collected and measured the pH. The pH of all samples ware week acidify (pH6). The total 78 isolates of yeast were isolated from soil by enrichment method in Yeast extracted malt extracted (YM broth) including chloramphenicol and sodium propionate. The 18 groups from 78 isolates of yeasts were gathered by used morphological physiological and biochemical characteristic. The 18 groups of yeasts were identified the species by comparison of the D1/D2 sequence of the 26S rRNA gene. As the result, yeast strains were identified as the 7 species including Schwanniomyces vanrijiae var. vanrijiae, Saturnispora sekii, Debaryomyces sp. UFMG-CM-Y343, Vanrija humicola, Scheffersomyces gosingicus, Candida dendronema and Tetrapisispora namnaonaoensis. The dominant species was found in Plant Genetic Conservation Center at University of Phayao area was found Schwanniomyces vanrijiae var. vanrijiae. The total of yeast which are known species will make the permanent slide for the subject of yeast and yeast technology at Microbiological Laboratory in the future. | |
dc.description.abstract | การศึกษาการแยกยีสต์และระบุสปีชีส์จากดินบริเวณศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืช ในป่าบริเวณมหาวิทยาลัยพะเยา โดยการเก็บตัวอย่างดิน 24 ตัวอย่าง สามารถวัดค่าความเป็นกรดด่างได้เท่ากับ 6 ซึ่งมีความเป็นกรดอ่อน และสามารถแยกตัวอย่างยีสต์ทั้งหมดได้ 78 ไอโซเลท โดยการใช้วิธี Enrichment ในอาหารเลี้ยงเชื้อ YM broth ที่เติมยาปฏิชีวนะ Chloramphenicol และ Sodium propionate เมื่อทำการจัดกลุ่มยีสต์ด้วยลักษณะทางสัณฐานวิทยา สรีรวิทยา และชีวเคมี สามารถแบ่งกลุ่มยีสต์ได้ทั้งหมด 18 กลุ่ม จากเชื้อยีสต์ทั้งหมด 78 ไอโซเลท และเมื่อนำเชื้อยีสต์ที่ได้ ไปทดสอบทางชีวโมเลกุล โดยการเปรียบเทียบลำดับนิวคลีโอไทด์บริเวณ D1/D2 domains ของ 26S rRNA gene สามารถระบุสปีชีส์ได้ 7 สปีชีส์ คือ Schwanniomyces vanrijiae var. vanrijiae, Saturnispora sekii Debaryomyces sp. UFMG-CM-Y343, Vanrija humicola Scheffersomyces gosingicus, Candida dendronema และ Tetrapisispora namnaonaoensis ซึ่งจากจำนวนสปีชีส์ทั้งหมด พบว่า เชื้อยีสต์ Schwanniomyces vanrijiae var. vanrijiae เป็นเชื้อที่พบได้สูงที่สุดจากบริเวณป่าในศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืช และจากเชื้อยีสต์ที่แยกได้และรู้ชื่อสปีชีส์จะนำไปทำสไลด์ถาวร เพื่อใช้ในการเรียนการสอนปฏิบัติการในรายวิชายีสต์และยีสต์เทคโนโลยีต่อไป | |
dc.description.sponsorship | มหาวิทยาลัยพะเยา | |
dc.identifier.uri | https://updc.up.ac.th/handle/123456789/427 | |
dc.language.iso | other | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยพะเยา | |
dc.subject | ยีสต์ | |
dc.subject | วิธีเอ็นรีชเมนต์ | |
dc.subject | เทกนิคพี ซี อาร์ | |
dc.subject | สไลด์ถาวร | |
dc.subject | Yeast | |
dc.subject | Enrichened method | |
dc.subject | PCR Technique | |
dc.subject | Permanent slide | |
dc.title | การศึกษาความหลากหลายของยีสต์จากดินบริเวณมหาวิทยาลัยพะเยา | |
dc.title.alternative | Diversity of Yeast from Soil at the University of Phayao | |
dc.type | Other |