การประเมินองค์ประกอบของการคายระเหยรวมของน้ำในพื้นที่ป่าเต็งรัง มหาวิทยาลัยพะเยา

Abstract
การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณพื้นที่ป่าต้นน้ำ ส่งผลต่ลต่อวัฏจักรน้ำโดยเฉพาะการคายระเหยรวมของน้ำ (Evapotranspiration) ซึ่งมีผลต่อการสูญเสียน้ำในระบบนิเวศ ทำให้น้ำท่าลดลง (Runoff) การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินองค์ประกอบการคายระเหยรวมของน้ำในป่าเต็งรังมหาวิทยาลัยพะเยา ผลการศึกษาพบว่า การคายระเหยของน้ำในพื้นที่บำเต็งรังมหาวิทยาลัยพะเยา โดยการประยุกต์ใช้เทคนิคความแปรปรวนร่วมแบบหมุนวน พบว่า การคายระเหยรวม (Evapotranspiration) อยู่ 49.2% ของปริมาณน้ำฝนทั้งหมด โดยแบ่งเป็นการระเหยของน้ำพืชยึด (Conopy intercept evaporation) 50.1% และการคายน้ำของพืชรวมกับการระเหยจากดิน (Tree transpiration and soil evaporation) 49.9% ของการคายระเหยรวมในระบบนิเวศ ตามลำดับ อย่างไรก็ตามการศึกษานี้เป็นการศึกษาช่วงระยะเวลาสั้นควรจะมีการศึกษาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เห็นความแตกต่างขององค์ประกอบการคายระเหยอย่างชัดเจน
Description
Land use and land use change in forested watershed are effect to water cycle, especially ecosystem evapotranspiration (ET) affects to water loss in ecosystem such as runoff (Q). The objective in this study is estimate the ecosystem evapotranspiration components in dry dipterocarp forest, University of Phayao by using eddy covariance technique. The results show that ecosystem evapotranspiration was 49.2% of total rainfall. In addition, the partitioning of ecosystem evaporation including canopy intercept evaporation (Ei) and total of transpiration and evaporation (Et,s) were 50.1% and 49.9% of ecosystem evaporation, respectively. However, this study was short period. Therefore, it should be continued study for improve our understanding about the difference of evapotranspiration components to clearly
Keywords
องค์ประกอบของการคายระเหยของน้ำ, ป่าเต็งรัง, Evapotranspiration Dry, Dipterocarp forest
Citation
พิทักษ์ธรรม ตรีกลึง และพิษณุนาถ นาพิลา. (2560). การประเมินองค์ประกอบของการคายระเหยรวมของน้ำในพื้นที่ป่าเต็งรัง มหาวิทยาลัยพะเยา. [ปริญญานิพนธ์ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยพะเยา.