การประเมินผลกระทบสุขภาพจากการใช้สารเคมีของเกษตรกรที่ปลูกข้าวในตำบลแม่ปืม อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

dc.contributor.authorจิณณ์ณณัช ชัยก๋า
dc.date.accessioned2023-12-20T07:32:35Z
dc.date.available2023-12-20T07:32:35Z
dc.date.issued2018
dc.descriptionThis research is mixed method purpose of this research was to study chemical behavior rice cultivation of rice farmers in Maepuem Sub-district, Muang District, Phayao Province. The sample 2 groups were 294 farmers for questionnaire and 50 farmers for blood transfusion and interview. The instruments included study were questionnaires, interviews and blood screening for cholinesterase. Analyze data using frequency, percentage, mean standard deviation and Chi-Square. The results showed that some of the behaviors and practices were improper. The illnesses found after using chemicals were red eyes, sore eyes, sore throat, coughing easily, burning nose, headache, dizziness and skin rash. Farmers tested for levels cholinesterase enzyme in the blood indicate that 24.0% were at risk detected as unsafe level, 34.0% were at risk level, 26.0% were at safe level and 16.0% The hypothesis test were personal factors by age and monthly income of rice farmers relationship to chemical behavior rice cultivation of rice farmers and blood cholinesterase enzyme in blood relationship to chemical behavior rice cultivation of rice farmers in Maepuem Sub-district, Muang District, Phayao Province.
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้สารเคมี ในการปลูกข้าวของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในตำบลแม่ปืม อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา กลุ่มตัวอย่างแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ เกษตรกร จำนวน 294 คน สำหรับตอบแบบสอบถาม และเกษตรกร จำนวน 50 คน สำหรับตรวจระดับเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเลือด และสัมภาษณ์ เครื่องมือในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถามการสัมภาษณ์ และการตรวจโลหิตหาระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส วิเคราะห์ข้อมูลใช้ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบไคสแคว์ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างบางส่วนมีพฤติกรรมการใช้ และการปฏิบัติยังไม่ถูกต้องอาการเจ็บป่วยที่พบหลังการสัมผัสสารเคมี ได้แก่ ตาแดง แสบตา คัน เจ็บคอ ไอ เหนื่อยง่าย แสบจมูก ปวดหัว เวียนศีรษะ และผื่นคันที่ผิวหนัง เกษตรกรที่เข้ารับการตรวจระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเลือด มีความเสี่ยงและระดับไม่ปลอดภัย ร้อยละ 24.0 ระดับมีความเสี่ยง ร้อยละ 34.0 ระดับปลอดภัย ร้อยละ 26.0 และระดับปกติ ร้อยละ 16.0 การทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมระหว่างใช้สารเคมี ในการปลูกข้าวของเกษตรกรผู้ปลูกข้าว และระดับเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเลือดมีความสัมพันธ์ กับพฤติกรรมระหว่างใช้สารเคมีในการปลูกข้าวของเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวในตำบลแม่ปืม อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.identifier.urihttps://updc.up.ac.th/handle/123456789/198
dc.language.isoother
dc.publisherมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.subjectการประเมิน
dc.subjectผลกระทบสุขภาพ
dc.subjectสารเคมี
dc.subjectเกษตรกร
dc.subjectAssessment
dc.subjectHealth Impact
dc.subjectChemical
dc.subjectFarmer
dc.titleการประเมินผลกระทบสุขภาพจากการใช้สารเคมีของเกษตรกรที่ปลูกข้าวในตำบลแม่ปืม อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา
dc.title.alternativeHealth Impact Assessment on Agricultural Chemical Utilitied Among Rice Farmers in Maepeum Sub-District, Muang District, Phayao Province
dc.typeThesis
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
Jinnanat Chaika.pdf
Size:
922.89 KB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed to upon submission
Description: