ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1

dc.contributor.authorลลิตา สมใจ
dc.date.accessioned2024-05-07T07:34:38Z
dc.date.available2024-05-07T07:34:38Z
dc.date.issued2022
dc.descriptionThe purposes of this research were: 1) to study digital leadership of school administrators 2) to study educational institution effectiveness, and 3) to study the relationship between digital leadership of school administrators and educational institution effectiveness under Chiang Rai Primary Educational Area Office 1. The sample group in this research were 311 administrators and teachers. The tool used as a questionnaire was the rating scale that had reliability value at O.974. The statistics used to analyze the data were percentage, mean, standard deviation, and correlation coefficient. The results that: 1) digital leadership of the school administrators was at a high level in the overall. Namely: Initiative of school administrators, Supporting the use of digital technology in teaching and learning management of school administrators and the vision of technology in the digital age of school administrators 2) The educational institution effectiveness was at a high level in the overall. Namely: General administration, Academic administration, and Budget administration. 3) The relationship between the digital leadership of school administrators and the educational institution effectiveness under Chiang Rai Primary Educational Area Office 1 had a statistically significant correlation at the 0.01 level.
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ศึกษาประสิทธิผลสถานศึกษา 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา กับประสิทธิผลสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหาร และครู จำนวน 311 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านการริเริ่มสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านการสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในด้านการจัดการเรียนการสอนของผู้บริหารสถานศึกษา และด้านวิสัยทัศน์ทางเทคโนโลยียุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ประสิทธิผลของสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านบริหารงานทั่วไป ด้านบริหารงานวิชาการ และด้านบริหารงานงบประมาณ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา และประสิทธิผลโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1 มีความสัมพันธ์กันในทางบวกในระดับมาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.identifier.urihttps://updc.up.ac.th/handle/123456789/481
dc.language.isoother
dc.publisherมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.subjectความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา
dc.subjectประสิทธิผลของสถานศึกษา
dc.subjectThe relationship between digital leadership of school administrators
dc.subjectThe Effectiveness of the School
dc.subjectภาวะผู้นำในยุคดิจิทัล
dc.subjectภาวะผู้นำ
dc.subjectDigital leadership of school administrators
dc.subjectLeadership of school administrators
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1
dc.title.alternativeRelationship between Leadership in The Digital Age of School Administrators With the Effectiveness of Educational Institutions Chiang Rai Primary Educational Service Area Office 1
dc.typeThesis
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
Lalita Somjai.pdf
Size:
2.78 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed to upon submission
Description: