คุณภาพน้ำและความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชในอ่างเก็บน้ำห้วยทับช้าง มหาวิทยาลัยพะเยา

dc.contributor.authorวณิชยา แก้วรุ่งฟ้า
dc.contributor.authorสุธิดา แสงมาลา
dc.contributor.authorอิงดาว วงค์ปัญญา
dc.date.accessioned2024-11-28T08:44:20Z
dc.date.available2024-11-28T08:44:20Z
dc.date.issued2020
dc.descriptionThis study has a propose to conduct a physico-chemical of water quality and to study a diversity of phytoplankton in Huai Thub Chang Reservoir, University of Phayao. The sampling was done during December 2019 to January 2020 in 9 sampling points within 3 stations which were Sri Khom Kham Reservoir, the 2nd Reservoir and Huai Thub Chang Reservoir. The 7 division (39 genera) were found; Chlorophyta, Cryptophyta, Euglenophyta, Pyrrophyta, Cyanophyta, Bacillariophyta and Chrysophyta. The analysis of variance (one-way ANOVA) shown that Electrical Conductivity (EC), Total Dissolved Solids (TDS), Salinity, Biochemical Oxygen Demand (BOD), Alkalinity, Turbidity, Orthophosphate and Light Intensity of each station were significantly difference at 95% interval (p<0.05). The classification of surface water by using physico-chemical factor and nutrient concentration with AARL-PC Score can be concluded that station 1 and station 2 were eutrophic status and station 3 were mesotrophic-eutrophic status. The classification of surface water by using phytoplankton with AARL-PP Score can concluded that station 1 were eutrophic status, station 2 were mesotrophic-eutrophic status and station 3 were mesotrophic status.
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อตรวจวัดคุณภาพน้ำทางกายภาพและเคมี และศึกษาความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชในอ่างเก็บน้ำห้วยทับช้างมหาวิทยาลัยพะเยา ทำการเก็บตัวอย่างระหว่างเดือนธันวาคม 2562 ถึงเดือนมกราคม 2563 จำนวน 9 จุดศึกษา ใน 3 สถานี ได้แก่ อ่างศรีโคมคำ อ่างเก็บน้ำ 2 และอ่างเก็บน้ำห้วยทับช้าง ผลการศึกษาพบแพลงก์ตอนพืชทั้งหมด 7 ดิวิชัน (39 สกุล) ได้แก่ Chlorophyta, Cryptophyta, Euglenophyta, Pyrrophyta Cyanophyta, Bacillariophyta และ Chrysophyta การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางสถิติ (One way ANOVA) พบว่า ค่าการนำไฟฟ้า ปริมาณของแข็งที่ละลายในน้ำ ความเค็ม ปริมาณออกซิเจนในการย่อยสลายสารอินทรีย์ ความกระด้างของน้ำ ความขุ่นของน้ำ ออร์โธฟอสเฟต และความเข้มแสง ในแต่ละจุดศึกษามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (p<0.05) ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำทางกายภาพและเคมี และคุณภาพน้ำตามปริมาณของสารอาหารด้วยวิธี AARL-PC Score พบว่า สถานีที่ 1 และ สถานีที่ 2 มีคุณภาพอยู่ในระดับช่วง น้ำเสีย (Eutrophic status) และสถานีที่ 3 มีคุณภาพน้ำอยู่ในระดับช่วงน้ำปานกลางค่อนข้างเสีย (Mesotrophic-Eutrophic status) การจัดระดับคุณภาพน้ำโดยใช้แพลงก์ตอนพืชตามวิธี AARL-PP Score พบว่า สถานีที่ 1 มีคุณภาพน้ำไม่ดี สถานีที่ 2 มีคุณภาพน้ำปานกลางถึงไม่ดี และสถานีที่ 3 มีคุณภาพน้ำปานกลาง
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.identifier.citationวณิชยา แก้วรุ่งฟ้า, สุธิดา แสงมาลา และอิงดาว วงค์ปัญญา. (2563). คุณภาพน้ำและความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชในอ่างเก็บน้ำห้วยทับช้าง มหาวิทยาลัยพะเยา. [ปริญญานิพนธ์ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยพะเยา.
dc.identifier.urihttps://updc.up.ac.th/handle/123456789/1037
dc.language.isoother
dc.publisherมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.subjectคุณภาพน้ำ
dc.subjectแหล่งน้ำนิ่ง
dc.subjectแพลงก์ตอนพืช และอ่างเก็บน้ำห้วยทับช้าง
dc.subjectWater quality
dc.subjectLentic
dc.subjectPhytoplankton and Huai Thap Chang
dc.subjectReservior
dc.titleคุณภาพน้ำและความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชในอ่างเก็บน้ำห้วยทับช้าง มหาวิทยาลัยพะเยา
dc.title.alternativeThe Water Quality and Diversity of Phytoplankton in Huai Thap Chang, Reservior University of Phayao
dc.typeOther
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
ติดต่อ งานส่งเสริมการเรียนรู้สารสนเทศดิจ.pdf
Size:
46.82 KB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed to upon submission
Description: