ทักษะการบริหารในภาวะวิกฤติของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1
dc.contributor.author | อัญชิษฐา ประสันใจ | |
dc.date.accessioned | 2024-02-08T07:34:10Z | |
dc.date.available | 2024-02-08T07:34:10Z | |
dc.date.issued | 2022 | |
dc.description | The research aims to 1) study the crisis management skills and 2) to compare the crisis management skills of the educational institution administrators in Chiang Rai Primary Educational Service Area 1 classified by the school sizes and working experiences. The samples of this study include 400 of school administrators and teachers in the schools under Chiang Rai Primary Educational Service Area 1. The research instrument was rating scale questionnaire and the statistical analyses were percentage, mean, standard division and One-way Analysis. and used the Scheffe's Method between each pair of school sizes was significantly different. by pairwise analysis when the differences were found 0.05 level. The result of this research reveals that 1) the crisis management skills of the educational institution administrators in Chiang Rai Primary Educational Service Area 1 in overall aspects were in the high level. 2) The result of comparing the crisis management skills of the educational institution administrators classified by the school sizes, difference among each aspect at 0.05 level of statistical significance. For considering the comparison in each of the aspects found that the aspect of communication skills, team building cooperation skills, critical and creative thinking skills and prioritization skills have the significant difference among each aspect at .05 level of statistical significance. And for the comparison by working experiences in overall aspects, no differences were found. | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาทักษะการบริหารในภาวะวิกฤติ 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการบริหารในภาวะวิกฤติ ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1 จำแนกตามขนาดของโรงเรียน และประสบการณ์ในการทำงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1 ในปีการศึกษา 2564 รวมทั้งสิ้น 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้การทดสอบ F-test เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของข้อมูลที่จำแนกออกตั้งแต่ 2 กลุ่มขึ้นไป โดยวิเคราะห์ความแตกต่างเป็นรายคู่ จำแนกตามขนาดโรงเรียน และจำแนกตามประสบการณ์ทำงาน ใช้การวิเคราะห์ความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 โดยทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ ด้วยวิธีของ Scheffe's method ผลการวิจัยพบว่า 1) ทักษะการบริหารในภาวะวิกฤติของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) ผลการเปรียบเทียบทักษะการบริหารในภาวะวิกฤติของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1 จำแนกตามขนาดโรงเรียน ในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า มีทักษะด้านทักษะการสื่อสาร ทักษะการสร้างความร่วมมือการทำงานเป็นทีม ทักษะการคิดเชิงวิพากษ์และสร้างสรรค์ ทักษะการจัดลำดับความสำคัญแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 และจำแนกตามประสบการณ์ในการปฏิบัติงานโดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน | |
dc.description.sponsorship | มหาวิทยาลัยพะเยา | |
dc.identifier.uri | https://updc.up.ac.th/handle/123456789/276 | |
dc.language.iso | other | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยพะเยา | |
dc.subject | ทักษะการบริหาร | |
dc.subject | ภาวะวิกฤติ | |
dc.subject | ผู้บริหารสถานศึกษา | |
dc.subject | Management Skills | |
dc.subject | Crisis | |
dc.subject | School administration | |
dc.title | ทักษะการบริหารในภาวะวิกฤติของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1 | |
dc.title.alternative | Crisis Management Skills of Educational Institution Administrators Chiang Rai Primary Educational Service Area Office 1 | |
dc.type | Thesis |