ประสิทธิผลของโปรแกรมการพัฒนาความรอบรู้และพฤติกรรมการใช้สมุนไพรของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ตำบลป่าซาง อำเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย

dc.contributor.authorกฤติพงศ์ บุญตัน
dc.date.accessioned2024-07-30T03:29:41Z
dc.date.available2024-07-30T03:29:41Z
dc.date.issued2022
dc.descriptionThe purpose of this research was to study the effectiveness of health literacy and herbs usage behavioral development program among patients with type 2 diabetes and to compare the mean difference of health literacy and behavior of using herbs in patients with type 2 diabetes Pa Sang Sub-district, Wiang Chiang Rung District, Chiang Rai Province before and after entering the program. The study was conducted in two phases. Phase I studied 209 people, the research instrument was a questionnaire. Analyze the percentage, frequency distribution, mean, standard deviation and chi-square correlation analysis. Phase II studied 35 people; the research instrument was a questionnaire and to compare the mean score before and after entering the program by T-test. The results of the first phase showed that type 2 diabetes patients had a moderate level of health literacy and behavior regarding the usage of herbs. The phase II study's findings showed that after participating in program, the sample's had a mean score on health literacy and behavioral usage herbs than before participating the program. which increase was statistically significant. (p < 0.01)
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความรอบรู้และพฤติกรรมการใช้สมุนไพรของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และเพื่อเปรียบเทียบผลต่างค่าเฉลี่ยของความรอบรู้และพฤติกรรมการใช้สมุนไพรของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ตำบลป่าซาง อำเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย ก่อนและหลังเข้าโปรแกรม โดยทำการศึกษา 2 ระยะ ระยะที่ 1 ทำการศึกษาจำนวน 209 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูล แจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยไคสแควร์ ระยะที่ 2 ทำการศึกษา จำนวน 35 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม และการหาค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างเปรียบเทียบก่อนและหลังโดยการทดสอบค่าที (T-test) ผลการวิจัยพบว่า ระยะที่ 1 พบว่า ความรอบรู้และพฤติกรรมการใช้สมุนไพรของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อยู่ในระดับปานกลาง ผลการศึกษาในระยะที่ 2 พบว่า หลังจากการให้โปรแกรมแล้วกลุ่มตัวอย่างมีค่าคะแนนเฉลี่ยความรอบรู้ และคะแนนพฤติกรรมการใช้สมุนไพร มากกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.01)
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.identifier.urihttps://updc.up.ac.th/handle/123456789/679
dc.language.isoother
dc.publisherมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.subjectโปรแกรมการพัฒนาความรอบรู้
dc.subjectพฤติกรรมการใช้สมุนไพร
dc.subjectผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2
dc.subjectHealth Literacy Development Program
dc.subjectHerbs Usage Behavioral
dc.subjectType 2 diabetes mellitus
dc.titleประสิทธิผลของโปรแกรมการพัฒนาความรอบรู้และพฤติกรรมการใช้สมุนไพรของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ตำบลป่าซาง อำเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย
dc.title.alternativeEffectiveness of Literacy and Herbs Usage Behavioral Development Program Among Diabetes Mellitus Type 2 Patients, Phasang Sub-District, Whiang Chiang Rung District, Chiang Rai Province
dc.typeThesis
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
Krittipong Boontan.pdf
Size:
1.22 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed to upon submission
Description: