การเปลี่ยนแปลงของสารอนินทรีย์และแพลงก์ตอนในมหาวิทยาลัยพะเยา

Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อศึกษาความหลากหลายของแพลงก์ตอนที่มีอยู่ในระบบนิเวศทั้งแหล่งน้านิ่งและน้าไหล และเพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพน้าทางกายภาพและเคมีของแหล่งน้านิ่งและน้าไหล ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน 2561 เก็บตัวอย่างน้าจากทั้งหมด 6 จุด ที่บริเวณทางน้าเข้าและทางน้าออกของอ่างเก็บน้าศรีโคมคา ลาธารน้าไหล และอ่างเก็บน้าสอง จากนั้นนาตัวอย่างน้ามาวัดคุณภาพน้าทางกายภาพและเคมี เก็บตัวอย่างแพลงก์ตอนโดยใช้ Plankton net และใช้แปรงปัดแพลงก์ตอนประเภทยึดเกาะ และนาไปจัดจาแนกใต้กล้องจุลทรรศน์ วิเคราะห์ดัชนีความคล้ายของแพลงค์ตอนในแต่ละจุดศึกษาและความแปรปรวนของคุณภาพน้าด้วย sorensen’s similarity index และ one way ANOVA ผลการศึกษาความหลากหลายของแพลงก์ตอน พบแพลงก์ตอนพืชทั้งหมด 7 ดิวิชัน 39 วงศ์ 78 สกุล และแพลงก์ตอนสัตว์ทั้งหมด 17 อันดับ 24 วงศ์ 29 สกุล แพลงตอนพืชที่พบบ่อยในแต่ละจุดเก็บตัวอย่าง ได้แก่ Oscillatoria, Phacus และTrachelomonas สกุลของแพลงก์ตอนสัตว์ที่พบบ่อยในแต่ละจุดเก็บตัวอย่าง ได้แก่ Macrocydrops, Phacus, Filinia, Brachionus, Keratella, Acartia และ Oithona ค่าร้อยละความคล้ายคลึงการของแพลงก์ตอนในจุดเก็บตัวอย่างอ่างเก็บน้าศรีโคมคา และอ่างเก็บน้าสอง มีความคล้ายคลึงการมากที่สุด คือ 27 % และ 35 % ตามลาดับ จากทั้งหมด 15 ตัวแปร และการวิเคราะห์ทางสถิติ (One way ANOVA) พบว่ามีตัวแปรที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญในแต่ละจุดศึกษา ได้แก่ การนาไฟฟ้า, ปริมาณสารแขวนลอย, ค่าความขุ่น, ค่าความเค็ม, อุณหภูมิอากาศ, ซัลเฟต, และแอมโมเนียที่ระดับความเชื่อมัน 95% (p>0.05)
Description
The aims of the research are to study a plankton diversity that present in both lentic and lotic ecosystem and to study the changing on physical and chemical of water quality in lentic and lotic during February to April 2018. Water sample was collected from 6 study points which were inlet and outlet of Sri Khom Kham reservoir, stream and Song reservoir. Then, the water samples were conducted a physical and chemical parameters. Plankton was collected by using a plankton net and the periphyton was collection by using a soft brush, then the identification was done by using light compound microscope. The similarity of plankton and the variance of water quality were done by using Sorensen’s similarity index and one way ANOVA. The result of plankton diversity show. That 7 Division 39 Family 78 Genus of phytoplankton and 17 Order 24 Family 29 Genus of zooplankton were found. The most abundant of phytoplankton in each of study points were Oscillatoria, Phacus and Trachelomonas. The most abundant of zooplankton in each of study points were Macrocydrops, Phacus, Filinia, Brachionus, Keratella, Acartia and Oithona. The percentage of similarity of plankton, Sri Khom Kham reservoir and Song reservoir have most similarity by 27% and 35% respectively. The total of 15 parameters which were computed by using a statistical analysis (one way ANOVA). It was found that the conductivity, total dissolved solids, suspended solids, salinity, air temperature, sulfate and ammonia of each study point were significantly different at 95% confidence (p<0.05).
Keywords
ความหลากหลายแพลงก์ตอน, แหล่งน้ำนิ่ง, แหล่งน้ำไหล, คุณภาพน้ำ, Diversity of plankton, Lentic, Lotic, Water quality
Citation
ชาตรี ทองศิริชัย และปุรเชษฐ์ จันทร์ฉาย. (2561). การเปลี่ยนแปลงของสารอนินทรีย์และแพลงก์ตอนในมหาวิทยาลัยพะเยา. [ปริญญานิพนธ์ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยพะเยา.