ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานห้างหุ้นส่วนจำกัด อู่ วี.ไอ.พี. พะเยา ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
dc.contributor.author | พลัฏฐ์ คูณจอมเกล้าสิริ | |
dc.date.accessioned | 2024-10-02T08:23:01Z | |
dc.date.available | 2024-10-02T08:23:01Z | |
dc.date.issued | 2022 | |
dc.description | The objectives of this research were 1) to study the performance of employees during the COVID-19 epidemic, 2) to investigate the relationship between changing organizational behavior factors during the COVID-19 epidemic and employee performance. This is quantitative research. The population in this study was 163 employees of Phayao Garage V.I.P Co., Ltd. Taro Yamane's method was employed to select a sample of 116 employees. The questionnaire was distributed using the random method by chance. Statistics used were frequency, percentage, average, standard deviation, T-test, F-test, and Pearson correlation coefficient. The findings were: 1) the performance of employees during the coronavirus epidemic situation was at a high level (x̅ = 3.90), followed by quality of work which was very efficient (x̅ = 3.89), high efficiency in workload (x̅ = 3.77) and operational expenses with a high level (x̅ = 3.75) respectively, 2) in organizational behavior at the individual level, organizational behavior at the group level, and organizational behavior at the organizational level, overall, there was a moderately positive correlation as well as operational efficiency of the staff. Research recommendation is that a plan should be made to prevent problems related to human behavior factors that correlate with organizational behavior that will affect operational efficiency especially during times of crisis. | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยพฤติกรรมองค์กรที่เปลี่ยนแปลงในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ศึกษา คือ พนักงานห้างหุ้นส่วนจำกัด อู่ วี.ไอ.พี. พะเยา จำนวน 163 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีของทาโร่ ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง 116 คน เก็บแบบสอบถามโดยใช้วิธีการสุ่มแบบบังเอิญ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน T-test, F-test และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า 1) ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ได้แก่ ด้านเวลา พบว่า อยู่ในระดับมาก (x̅ = 3.90) รองลงมา คือ ด้านคุณภาพของงานมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก (x̅ = 3.89) ด้านปริมาณงานมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก (x̅ = 3.77) และด้านค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก (x̅ = 3.75) ตามลำดับ 2) พฤติกรรมองค์กรในระดับบุคคล พฤติกรรมองค์กรในระดับกลุ่ม และพฤติกรรมองค์กรในระดับองค์กร โดยรวมมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลาง กับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน ข้อเสนอแนะจากการวิจัย ควรมีการวางแผนแก้ไขมิให้เกิดปัญหาด้านปัจจัยพฤติกรรมมนุษย์ที่มีความความสัมพันธ์กับพฤติกรรมองค์กร กระทบต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานโดยเฉพาะในช่วงภาวะวิกฤต | |
dc.description.sponsorship | มหาวิทยาลัยพะเยา | |
dc.identifier.citation | พลัฏฐ์ คูณจอมเกล้าสิริ. (2565). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานห้างหุ้นส่วนจำกัด อู่ วี.ไอ.พี. พะเยา ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยพะเยา]. ฐานข้อมูลคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยพะเยา (UP Digital Collections: UPDC). | |
dc.identifier.uri | https://updc.up.ac.th/handle/123456789/819 | |
dc.language.iso | other | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยพะเยา | |
dc.subject | ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน | |
dc.subject | พฤติกรรมองค์กร | |
dc.subject | เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 | |
dc.subject | Performance Efficiency | |
dc.subject | Organizational Behavior | |
dc.subject | Coronavirus 2019 | |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานห้างหุ้นส่วนจำกัด อู่ วี.ไอ.พี. พะเยา ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 | |
dc.title.alternative | Factors Affecting the Performance of Employees of Garage V.I.P Phayao Limited Partnership in The Situations of The Epidemic of Coronavirus 2019 | |
dc.type | Thesis |