การพัฒนาของไหลจุลภาคแบบดิจิทัลที่ใช้ศักย์ไฟฟ้ากระตุ้นต่ำ: ผลของระยะห่างระหว่างขั้วอิเล็กโทรดและความหนาของชั้นไดอิเล็กทริกต่อศักย์ไฟฟ้ากระตุ้น

dc.contributor.authorภัสรา ทิพเนตร
dc.contributor.authorสุจิรา จิตคำมา
dc.date.accessioned2024-12-04T09:06:03Z
dc.date.available2024-12-04T09:06:03Z
dc.date.issued2018
dc.descriptionIn this research, we studied and developed digital microfluidic chip. The parameters associated to changes the contact angle of 8-µL liquid droplets on dielectric layer were investigates including fabrication methods of electrode, dielectric coating, electrodes gap, dielectric thickness and dielectric materials. The electrode is made from PCB, sputtered-thin-film of copper and titanium. The electrode area is 3x3 mm and the dielectric layer is coated with PDMS polymer and dielectric layers coated with titanium dioxide (TiO2) /Polymethylmethacrylate (PDMS) nanocomposite at 1%wt/TiO2/PDMS with 3%wt/TiO2/PDMS. The experimental results showed that the electrodes made of titanium thin film make the maximum change of droplet's contact angle change. The nanocomposite of titanium dioxide (TiO2) /Polymethylmethacrylate (PDMS) with 1% wt/TiO2/PDMS had a contact angle of 105±2 degrees on the electrodes made of copper sputtering. In addition, it was found that thin-copper film electrode with the gap of 230 ± 10 μm and the dielectric layer made of titanium dioxide (TiO2) / Polymethylmethacrylate (PDMS) nanocomposite at 3% wt/TiO2/PDMS with spin speed of 2000 RPM changes the contact angle by 48 degrees with the minimum actuation voltage of 250 volts.
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ศึกษาและพัฒนาระบบดิจิทัลไมโครฟลูอิดิกส์ โดยศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงมุมสัมผัสของหยดน้ำปราศจากไอออนปริมาตร 8 ไมโครลิตร ดังนี้ วิธีการทำขั้วอิเล็กโทรด ระยะห่างระหว่างขั้วอิเล็กโทรด ความหนาของชั้นไดเล็กทริก และชนิดของชั้นไดอิเล็กทริก ขั้วอิเล็กโทรดขนาด 3x3 มิลลิเมตร ทำจากการกัดลายวงจรพีซีบี ฟิล์มทองแดงและไทเทเนียมที่ประดิษฐ์ด้วยวิธีสปัตเตอริง ขั้วอิเล็กโทรดถูกเคลือบด้วยชั้นไดอิเล็กทริก ได้แก่ 1) พอลิเมอร์พีดีเอ็มเอส 2) ไทเทเนียมไดออกไซด์:พอลิเมอร์โพลีไดเมทิลไซลอกเซน นาโนคอมโพสิท อัตราส่วน 1%wt/ TiO2/PDMS กับ 3% wt/ TiO2/PDMS จากผลการทดลองพบว่า ขั้วอิเล็กโทรดไทเทเนียมทำให้มุมสัมผัสของหยดน้ำเปลี่ยนแปลงมากที่สุด ชั้นไดอิเล็กทริกไทเทเนียมไดออกไซด์ (TiO2)/พอลิเมอร์โพลีไดเมทิลไซลอกเซนนาโนคอมโพสิท อัตราส่วน 1%wt/ TiO2/PDMS ทำให้มุมสัมผัสของหยดน้ำเปลี่ยนแปลงมากที่สุด นอกจากนี้พบว่า ระยะห่างของขั้วอิเล็กโทรด 230±10 ไมโครเมตร และความหนาของชั้นไดอิเล็กทริกที่เคลือบด้วยไทเทเนียมไดออกไซด์ (TiO2)/พอลิเมอร์โพลีไดเมทิลไซลอกเซนนาโนคอมโพสิท ขั้วอิเล็กโทรดฟิล์มทองแดง อัตราส่วน 3%wt/ TiO2/PDMS โดยสปินที่ความเร็วรอบ 2000 สามารถเปลี่ยนแปลงมุมสัมผัสมากที่สุด 48 องศา เมื่อใช้ความต่างศักย์ไฟฟ้ากระตุ้น 250 โวลต์
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.identifier.citationภัสรา ทิพเนตร และสุจิรา จิตคำมา. (2561). การพัฒนาของไหลจุลภาคแบบดิจิทัลที่ใช้ศักย์ไฟฟ้ากระตุ้นต่ำ : ผลของระยะห่างระหว่างขั้วอิเล็กโทรดและความหนาของชั้นไดอิเล็กทริกต่อศักย์ไฟฟ้ากระตุ้น. [ปริญญานิพนธ์ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยพะเยา.
dc.identifier.urihttps://updc.up.ac.th/handle/123456789/1077
dc.language.isoother
dc.publisherมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.subjectดิจิทัลไมโคฟลูดิกส์
dc.subjectพีดีเอ็มเอสไทเทเนียมนาโนคอมโพสิท
dc.subjectพีดีเอ็มเอส
dc.subjectมุมสัมผัส
dc.subjectdigital microfluidic
dc.subjectPDMS: TiO2 nanocomposite
dc.subjectPDMS
dc.subjectcontact angle
dc.titleการพัฒนาของไหลจุลภาคแบบดิจิทัลที่ใช้ศักย์ไฟฟ้ากระตุ้นต่ำ: ผลของระยะห่างระหว่างขั้วอิเล็กโทรดและความหนาของชั้นไดอิเล็กทริกต่อศักย์ไฟฟ้ากระตุ้น
dc.title.alternativeDevelopment of Low-Actuation-Voltage Digital Microfluidic: Effects of Electrode Gap and Dielectric Thickness on Actuation Voltage of PDMS Layer for Electrowetting on Dielectric
dc.typeOther
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
ติดต่อ งานส่งเสริมการเรียนรู้สารสนเทศดิจิทัล.pdf
Size:
46.82 KB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed to upon submission
Description: