ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36
dc.contributor.author | สุกัญญา เตจ๊ะ | |
dc.date.accessioned | 2024-05-08T08:31:59Z | |
dc.date.available | 2024-05-08T08:31:59Z | |
dc.date.issued | 2021 | |
dc.description | The purposes of this research were 1) to study the transformational leadership of the school administrators of World Class Standard School under The Secondary Educational Service Area Office 36. 2) to study the effectiveness of World Class Standard School under The Secondary Educational Service Area Office 36. and 3) to study the relationship between the transformational leadership and the effectiveness of World Class Standard School under The Secondary Educational Service Area Office 36. The samples group were consisted 285 of administrators and teachers of World Class Standard School under The Secondary Educational Service Area Office 36. The data-collecting instruments were the set of five-leveled questionnaires developed by the researcher and the data-analyzing were percentage, mean, standard deviation and Pearsons correlation. The results were 1) the overall of transformational leadership was higher level. 2) the overall of effectiveness of World Class Standard School was high level and 3) the relationship between the transformational leadership of school administrators and the effectiveness of World Class Standard School was moderate which is statistically significant at 0.01 | |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของมาตรฐานสากล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับประสิทธิผลของโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารและครูโรงเรียนมาตรฐานสากลที่ผ่านการประเมินในระดับ OBECQA ระดับมัธยมศึกษา ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 จำนวน 285 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตรประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) ประสิทธิผลของโรงเรียนมาตรฐานสากล โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับประสิทธิผลของโรงเรียนมาตรฐานสากลมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 | |
dc.description.sponsorship | มหาวิทยาลัยพะเยา | |
dc.identifier.uri | https://updc.up.ac.th/handle/123456789/497 | |
dc.language.iso | other | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยพะเยา | |
dc.subject | ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง | |
dc.subject | ประสิทธิผลของโรงเรียนมาตรฐานสากล | |
dc.subject | Transformational Leadership | |
dc.subject | Effectiveness of World Class Standard School | |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 | |
dc.title.alternative | The Relationship Between Transformational Leadership of Administrators and World Class Standard School Effectiveness Under The Secondary Educational Service Area Office 36 | |
dc.type | Thesis |