ประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียจากโรงงานปลาส้ม โดยใช้น้ำหมักมูลไส้เดือนดิน
dc.contributor.author | พัชรีภรณ์ จันทร์มณี | |
dc.contributor.author | ศรีวิไล ทูลมาก | |
dc.date.accessioned | 2024-12-23T06:54:25Z | |
dc.date.available | 2024-12-23T06:54:25Z | |
dc.date.issued | 2016 | |
dc.description | Efficiency of fermented fish (Pla Som) factory wastewater treatment using 1% 3% and 5% earthworm (Pheretima peguana) tea dilutions under the laboratory condition for 35 days had done. The experiment had divided into four trial groups consisting of group 1; no earthworm tea added wastewater (control), group 2; 1% earthworm tea added wastewater, group 3; 3% earthworm tea added wastewater and group 4; 5% earthworm tea added wastewater. The results found that all trial groups showed increasing pH throughout the study period. The TSS increased in the 1% 3% and 5% earthworm tea added wastewaters. While the TKN in the 1% and 3% earthworm tea added wastewaters can be reduced only 1.40% and 1.46%, respectively (P <0.05j. The BOD5 and the TKN in the 5% earthworm tea added wastewater can be reduced only 1.00% and 4.49%, respectively (P <0.05). Finally, this study concludes that the 1% 3% and 5% earthworm tea showed the Low efficiency for fermented fish (Pla Som) factory wastewater treatment. | |
dc.description.abstract | การศึกษาประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียจากโรงงานปลาส้มด้วยการเติมน้ำหมักมูลไส้เดือนดิน (Pheretima peguano) ในอัตราเจือจาง 1% 3% และ 5% ภายใต้สภาพแวดล้อมในห้องปฏิบัติการเป็นเวลา 35 วัน ได้ดำเนินการโดยแบ่งการทดลองออกเป็น 4 ชุดการทดลอง ประกอบด้วย ชุดที่ 1 น้ำเสียชุดควบคุม ซึ่งไม่มีการเติมน้ำหมักมูลไส้เดือนดิน ชุดที่ 2 3 และ 4 ประกอบด้วย น้ำเสียผสมน้ำหมักมูลไส้เดือนดิน 1% 3% และ 5% ตามลำดับ ผลการศึกษาพบว่า pH มีแนวโน้มสูงขึ้นทุกชุดการทดลอง ส่วนปริมาณ TSS มีคำเพิ่มขึ้นในน้ำเสียผสมน้ำหมักมูลไส้เดือนดิน 1% 3% และ 5% ในขณะที่น้ำเสียผสมน้ำหมักมูลไส้เดือนดิน 1% และ 3% สามารถลดปริมาณ TKN ได้มากกว่าน้ำเสียชุดควบคุมเพียง 1.40% และ 1.46% ตามลำดับ (P<0.05) ส่วนน้ำเสียผสมน้ำหมักมูลไส้เดือนดิน 5% สามารถลดปริมาณ BODg และ TKN ได้มากกว่าน้ำเสียชุดควบคุมเพียง 1.00% และ 4.49% ตามลำดับ (P<0.05) จากการศึกษาครั้งนี้สรุปได้ว่าน้ำเสียผสมน้ำหมักมูลไส้เดือนดิน 1% 3% และ 5% มีประสิทธิภาพต่ำในการบำบัดน้ำเสียจากโรงงานปลาส้ม | |
dc.description.sponsorship | มหาวิทยาลัยพะเยา | |
dc.identifier.citation | พัชรีภรณ์ จันทร์มณี และศรีวิไล ทูลมาก. (2559). ประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียจากโรงงานปลาส้ม โดยใช้น้ำหมักมูลไส้เดือนดิน. [ปริญญานิพนธ์ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยพะเยา. | |
dc.identifier.uri | https://updc.up.ac.th/handle/123456789/1147 | |
dc.language.iso | other | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยพะเยา | |
dc.subject | โรงงานปลาส้ม | |
dc.subject | น้ำหมักมูลไส้เดือนดิน | |
dc.subject | น้ำเสีย | |
dc.subject | ไส้เดือนดิน | |
dc.subject | Fermented fish factory | |
dc.subject | Earthworm tea | |
dc.subject | Wastewater | |
dc.subject | Earthworm | |
dc.title | ประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียจากโรงงานปลาส้ม โดยใช้น้ำหมักมูลไส้เดือนดิน | |
dc.title.alternative | Efficiency of Fermented Fish (Pla Som) Factory Wastewater Treatment Using Earthworm Tea | |
dc.type | Other |