การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

dc.contributor.authorกัลยา แก้วตา
dc.date.accessioned2023-12-19T09:08:45Z
dc.date.available2023-12-19T09:08:45Z
dc.date.issued2022
dc.descriptionThe objectives of the study were 1) To study and examine the efficiency of learning activities by using phenomenon based learning approach with social media to enhance critical thinking for grade 6 students with the criterion set at 80/80, 2) To compare grade 6 students' critical thinking ability between before and after learning. A sample consisted of 25 students in grade 6 at Anuban Wiang Papao School, Wiang Papao district, Chiang Rai, during the academic year of 2021. The students were drawn from the simple random sampling method by drawing lots. The instruments were 6 lesson plans and a critical thinking test with 40 multiple-choice questions. Based on the major findings, it was recommended as follows: 1) The lesson plans based on learning activities by using phenomenon-based learning approach with social media to enhance critical thinking satisfied the set efficiency standard (E1/E2) at 88.97/82.60, higher than the standard of 80/80, 2) The comparison result of critical thinking ability, based on learning activities by using phenomenon-based learning approach with social media for grade 6 students, had significantly higher after learning at the 0.05 level.
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษา และหาประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลเวียงป่าเป้า อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 25 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) ด้วยการจับสลากโดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยในการสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 6 แผน และแบบทดสอบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ชนิดปรนัย จำนวน 40 ข้อ ผลการศึกษา พบว่า 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 88.97/82.60 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ที่ตั้งไว้ 2) ผลการเปรียบเทียบการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยใช้การจัดการเรียนรู้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05"
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.identifier.urihttps://updc.up.ac.th/handle/123456789/189
dc.language.isoother
dc.publisherมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.subjectกิจกรรมการเรียนรู้ปรากฎการณ์เป็นฐาน
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์
dc.subjectการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
dc.subjectLearning activities by using phenomenon-based learning approach
dc.subjectSocial media
dc.subjectCritical thinking
dc.titleการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
dc.title.alternativeThe Development of Learning Activities by Using Phenomenon-Based Learning Approach with Social Media to Enhance Critical Thinking for Grade 6 Students
dc.typeThesis
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
Gunlaya Kaeota.pdf
Size:
3.29 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed to upon submission
Description: