สภาพและแนวทางการบริหารสถานศึกษาตามมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาสถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4

dc.contributor.authorขนิษฐา ใจกล้า
dc.date.accessioned2025-02-07T08:32:25Z
dc.date.available2025-02-07T08:32:25Z
dc.date.issued2024
dc.descriptionThe purposes of this research were: 1) To study the conditions and guidelines to manage the schools of preventive and problem-solving measurements of particulate matter with a diameter of less than 2.5 microns of Chiang Rai Primary Educational Service Area Office 4. The sample group was school administrators, teachers, and educational personnel. A total of 316 people by randomly selected. The data collecting instrument was a questionnaire to Likert ratio 5 scale and suitability and feasibility assessment. The statistics included frequency distribution, percentage, mean, and standard deviation. The research results showed that. the conditions and guidelines to manage the schools of preventive and problem-solving measurements of particulate matter with a diameter of less than 2.5 microns of Chiang Rai Primary Educational Service Area Office 4. Overall, it is considered to be at a high level. The aspect with the highest average is student coverage with intellectual disabilities, speech impairments, hyperactivity disorder, and autistic children Including students in remote areas. The lowest average is financial management which is at a high level. There are 6 guidelines.
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพและแนวทางการบริหารสถานศึกษาในสถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4 จำนวน 316 คน โดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม แบบมาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ และแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลค่าการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า สภาพการบริหารสถานศึกษาในสถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการครอบคลุมนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาบกพร่องทางการพูด มีภาวะสมาธิสั้น และเด็กออทิสติก รวมถึงนักเรียนในพื้นที่ห่างไกล รองลงมา คือ ด้านการเรียนรู้ รองลงมา คือ ด้านสวัสดิภาพ และการคุ้มครอง และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านการบริหารการเงินซึ่งอยู่ในระดับมาก และมี 6 แนวทาง
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.identifier.citationขนิษฐา ใจกล้า. (2567). สภาพและแนวทางการบริหารสถานศึกษาตามมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาสถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยพะเยา]. ฐานข้อมูลคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยพะเยา (UP Digital Collections: UPDC).
dc.identifier.urihttps://updc.up.ac.th/handle/123456789/1250
dc.language.isoother
dc.publisherมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.subjectสภาพและแนวทางการบริหารสถานศึกษา
dc.subjectมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาสถานการณ์ฝุ่น PM 2.5
dc.subjectสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4
dc.subjectthe conditions and guidelines to manage the schools preventive
dc.subjectproblem-solving measurements of particulate matter with a diameter of less than 2.5 microns
dc.subjectChiang Rai Primary Educational Service Area Office 4
dc.titleสภาพและแนวทางการบริหารสถานศึกษาตามมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาสถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4
dc.title.alternativeThe Conditions and Guidelines to Manage The Schools of Preventive and Problem-Solving Measurements of Particulate Matter with a Diameter of Less Than 2.5 Microns of Chiang Rai Primary Educational Service Area Office 4
dc.typeThesis
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
Khanittha Chaikla.pdf
Size:
3 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed to upon submission
Description: