การศึกษาคุณภาพน้ำและความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชในอ่างเก็บน้ำแม่นาเรือ

dc.contributor.authorกาญจนา สวนดอกไม้
dc.date.accessioned2024-10-10T07:24:09Z
dc.date.available2024-10-10T07:24:09Z
dc.date.issued2016
dc.descriptionThe study on the diversity of phytoplankton, physical – chemical and biological factor in Mae na rua reservoir, Muang Phayao District, Phayao Province were conducted during 3 months from September to November 2016. The sample were collected every 2 weeks in 3 sampling sites. 7 Division, 27 families and 36 genera of phytoplankton were found. The highest family numbers were Chlorophyta (35%) Bacilaliophyta (18%), Cyanophyta (10%), Euglenophyta (15%), Chrysophyta (13%), Pyrrophyta (3%), and Cryptophyta (3%) respectively. The dominant genus was Eudorina, Ceratium and Dinobryon. According to evaluating water quality by using AARL – PP Score, the water quality was classified into moderate (mesotrophic status). An according to the trophic levels by using AARL – PC Score, the water quality in September was classified into moderate – polluted (Mesotrophic – eutrophic status), and October November was classified into moderate (Mesotrophic status). According to the standard for surface water quality of Thailand, it was classified into the 3rd category which can use for consumption via wastewater treatment process.
dc.description.abstractการศึกษาความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชและคุณภาพน้ำทางกายภาพ เคมี และชีวภาพในอ่างเก็บน้ำแม่นาเรือ ตำบลแม่นาเรือ จังหวัดพะเยา ตั้งแต่เดือนกันยายนถึงเดือน พฤศจิกายน 2559 เป็นระยะเวลา 3 เดือน ทำการเก็บตัวอย่างทุก 2 สัปดาห์ จากการเก็บตัวอย่าง 3 จุด พบแพลงก์ตอนพืชทั้งหมด 7 Division 27 Family 36 Genus โดย Division ที่มีความหลากหลายทางด้าน Family มากที่สุดคือ Chlorophyta (35%) รองลงมา คือ Bacilaliophyta (18%), Cyanophyta (10%), Euglenophyta (15%), Chrysophyta (13%), Pyrrophyta (3%) และ Cryptophyta (3%) แพลงก์ตอนจีนัสเด่น ได้แก่ Eudorina, Ceratium และ Dinobryon เมื่อจัดคุณภาพน้ำด้านชีวภาพโดยใช้แพลงก์ตอนพืชเป็นดัชนีบ่งชี้ตาม AARL – PP score จะอยู่ในระดับ คุณภาพน้ำปานกลาง (Mesotrophic status) และเมื่อจัดคุณภาพน้ำตามความมากน้อยของสารอาหารตาม AARL – PC Score พบว่า ในเดือนกันยายน คุณภาพน้ำอยู่ในระดับ ปานกลางค่อนข้างเสีย (Mesotrophic – eutrophic status) เดือนตุลาคมและเดือนพฤศจิกายน คุณภาพน้ำอยู่ในระดับปานกลาง (Mesotrophic status) รวมทั้งการจัดคุณภาพน้ำตามมาตรฐานน้ำจืดผิวดินจัดอยู่ในประเภทที่ 3 ซึ่งสามารถนำไปอุปโภค บริโภคได้โดยต้องผ่านกระบวนการบาบัดน้ำเสียทั่วไปก่อน
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.identifier.citationกาญจนา สวนดอกไม้. (2559). การศึกษาคุณภาพน้ำและความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชในอ่างเก็บน้ำแม่นาเรือ. [ปริญญานิพนธ์บัณฑิตไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยพะเยา.tha
dc.identifier.urihttps://updc.up.ac.th/handle/123456789/852
dc.language.isoother
dc.publisherมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.subjectความหลากหลาย
dc.subjectแพลงก์ตอนพืช
dc.subjectฟอสฟอรัส
dc.subjectไนโตรเจน
dc.subjectDiversity
dc.subjectPhytoplankton
dc.subjectPhosphorus
dc.subjectNitrogen
dc.titleการศึกษาคุณภาพน้ำและความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชในอ่างเก็บน้ำแม่นาเรือ
dc.title.alternativeA Study on Water Quality and Diversity of Phytonplankton in Mae Na-Rua Reservoir
dc.typeOther
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
ติดต่อเจ้าหน้าที่ศูนย์บรรณสารและการเรียนรู้.pdf
Size:
25.89 KB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed to upon submission
Description: