การพัฒนาการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษาเรื่องการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.contributor.author | พนมวรรณ เฟื่องฟู | |
dc.date.accessioned | 2024-12-02T08:10:36Z | |
dc.date.available | 2024-12-02T08:10:36Z | |
dc.date.issued | 2017 | |
dc.description | The research is objective to develop and search for the efficiency of STEM Education (Science Technology Engineering and Mathematics Education): motion of a projectile for grade 10 students at University of Phayao Demonstration School based on performance criteria, setting the goal E1 = 70 and E2 = 70 to compare the pre-test and post-test results by STEM Education: motion of a projectile for grade 10 students. The research methods consist of 2 steps. Step 1 is to construct and search for the efficiency of STEM Education: motion of a projectile for grade 10 students at University of Phayao Demonstration School. Step 2 is to test STEM Education: motion of a projectile for grade 10 students. The sampling is grade 10, 27 students at University of Phayao Demonstration School by simple random sampling. Research instrument is lacy shooter brochure and motion of a projectile test used in pre-test and post-test. They are multiple choice with 4 answers, 14 choices. The results reveal that STEM Education: motion of a projectile for grade 10 students, undertaken by the researcher, has efficiency along with the E1/E2 criteria, E1 = 80.46 and E2 = 72.05 the post-test results by STEM Education is more than pre-test results significantly | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา เรื่องการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2 โดยตั้งค่าเป้าหมาย E1 = 70 และ E2 = 70 และเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา เรื่องการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 การดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การสร้างและหาประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา เรื่องการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ขั้นตอนที่ 2 การทดลองใช้การจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา เรื่อง การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา จำนวน 27 คน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลประกอบด้วยใบกิจกรรมเรื่องเครื่องยิงลูกไม้ป่า และแบบทดสอบเรื่องการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ที่ใช้ในการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เป็นแบบทดสอบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จำนวน 14 ข้อ ผลการวิจัยพบว่า การจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา เรื่องการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1/E2 โดยมีค่า E1 = 80.46 และ E2 = 72.05 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | |
dc.description.sponsorship | มหาวิทยาลัยพะเยา | |
dc.identifier.citation | พนมวรรณ เฟื่องฟู. (2560). การพัฒนาการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษาเรื่องการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา. [ปริญญานิพนธ์ที่ไม่มีการตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยพะเยา. | |
dc.identifier.uri | https://updc.up.ac.th/handle/123456789/1047 | |
dc.language.iso | other | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยพะเยา | |
dc.subject | โพรเจกไทล์ | |
dc.subject | สะเต็มศึกษา | |
dc.subject | Projectile | |
dc.subject | STEM Education | |
dc.title | การพัฒนาการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษาเรื่องการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา | |
dc.title.alternative | The STEM Education Development: Motion of a Projectile for Grade 10 Students of University of Phayao Demonstration School | |
dc.type | Other |