การพัฒนาการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (PBL) วิชาภูมิศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

dc.contributor.authorธันย์พศุตม์ พรหมมา
dc.date.accessioned2025-02-03T03:58:46Z
dc.date.available2025-02-03T03:58:46Z
dc.date.issued2023
dc.descriptionThe purposes of this research were 1) to develop a project-based learning management plan for Prathomsuksa 6 students 2) to compare learning achievements before and after learning by using project-based learning management 3) to study the students' satisfaction with the project-based learning management plan Geography for Prathomsuksa 6 students. The research results were learning achievements on geographical tools of Prathomsuksa 6 students higher than before managed by project-based learning. Statistically at the .01 level of significance, which is in accordance with hypothesis 1. This may be due to project-based learning management is a learning process in which learners build knowledge from situations of their own interest, through group work processes, retrieving information, project work process there were steps and a joint management plan. Explicit knowledge related to real life. It is the building point of the learning process. And the research results where students are satisfied with learning from the project-based learning plan. The effect of using project-based learning where the students were satisfied with the learning management plan at a high level. Statistically at the .01 level of significance, which is in accordance with hypothesis 2. This may be due to project-based learning plans focused on students, learners interested and learn independently, being creative and group process.
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (project-based learning) รายวิชาภูมิศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน และหลังเรียน โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (project-based learning) 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแผนการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (project-based learning) รายวิชาภูมิศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จากผลการวิจัย พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าก่อนได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .01 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานข้อที่ 1 ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้จากสถานการณ์ที่ตนเองสนใจ ผ่านทางกระบวนการทำงานกลุ่ม การสืบค้นข้อมูล กระบวนการทำโครงงาน การจัดการร่วมกันวางแผน ซึ่งองค์ความรู้มีความสัมพันธ์กับชีวิตจริงและเป็นจุดที่สร้างของกระบวนการเรียนรู้ และผลจากการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (project-based learning ) พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อแผนการจัดการเรียนรู้ในระดับมาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .01 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานข้อที่ 2 ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน ได้เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้เรียนมีความสนใจ และได้เรียนรู้อย่างเป็นอิสระ ใช้ความคิดสร้างสรรค์ และมีกระบวนการกลุ่ม
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.identifier.citationธันย์พศุตม์ พรหมมา. (2566). การพัฒนาการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (PBL) วิชาภูมิศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยพะเยา]. ฐานข้อมูลคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยพะเยา (UP Digital Collections: UPDC).
dc.identifier.urihttps://updc.up.ac.th/handle/123456789/1224
dc.language.isoother
dc.publisherมหาวิทยาลัยพะเยา
dc.subjectโรงเรียนเทศบาล 4 สันป่าก่อ
dc.subjectเทศบาลนครเชียงราย
dc.subjectจังหวัดเชียงราย
dc.subjectTessaban 4 sanpakoh school
dc.subjectChiang Rai municipality
dc.subjectChiang Rai
dc.titleการพัฒนาการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (PBL) วิชาภูมิศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
dc.title.alternativeDeveloping Project-Based Learning (PBL) Geography of Prathomsuksa 6 Students
dc.typeThesis
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
Thanphasut Phomma.pdf
Size:
1.05 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed to upon submission
Description: