Repository logo
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
Repository logo

UPDC

  • Communities & Collections
  • All of DSpace
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
  1. Home
  2. Browse by Author

Browsing by Author "รัตนาภรณ์ แพงแซง"

Now showing 1 - 1 of 1
Results Per Page
Sort Options
  • Loading...
    Thumbnail Image
    Item
    การวิเคราะห์หาปริมาณเมทานอลและเอทานอล ในตัวอย่างน้ำหมักผลไม้โดยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี
    (มหาวิทยาลัยพะเยา, 2020) ธีระพล แก้วเกิด; รัตนาภรณ์ แพงแซง
    การวิเคราะห์หาปริมาณเมทานอล และเอทานอล ในตัวอย่างน้ำหมักผลไม้ทั้ง 5 ชนิด ได้แก่ ฝรั่ง มะละกอ มันแกว แตงไทย และกล้วย โดยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟีต่อพ่วงกับเครื่องตรวจวัดเฟลมไอออนไนเซชัน ซึ่งได้ทำการศึกษาหาสภาวะที่เหมาะสมในการทดลอง โดยได้สภาวะที่เหมาะสมในการทดลอง ได้แก่ อัตราการไหลของแก๊สไนโตรเจน 1.0 มิลลิลิตรต่อนาที อุณหภูมิของระบบฉีดสาร 160 องศาเซลเซียส อุณหภูมิของคอลัมน์ 50 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิของตัวตรวจวัด 140 องศาเซลเซียส โดยได้ค่าที่เป็นความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงระหว่างความเข้มข้นของเมทานอล และเอทานอล กับค่าพื้นที่พีค อยู่ในช่วงความเข้มข้นร้อยละ 0.5 ถึง 30 โดยปริมาตรต่อปริมาตร ซึ่งมีค่าสมการถดถอยของเมทานอล และเอทา-นอล เท่ากับ 0.9996 และ 0.9991 ตามลำดับ จากการวิเคราะห์โดยวิธีนี้รวมถึงขั้นตอนการเตรียมสารตัวอย่าง พบว่า วิธีการวิเคราะห์นี้สามารถหาปริมาณของเมทานอล และเอทานอล ได้ในเวลาน้อยกว่า 5 นาที โดยมีค่าขีดจำกัดต่ำสุดของการตรวจวัดของเมทานอล และเอทานอล เท่ากับ 0.007 และ 0.024 โดยปริมาตรต่อปริมาตร ตามลำดับ และค่าขีดจำกัดในการตรวจวัดเชิงปริมาณของเมทานอล และเอทานอล เท่ากับ 0.023 และ 0.079 โดยปริมาตรต่อปริมาตร ตามลำดับ โดยมีค่าร้อยละการได้กลับคืนของเครื่องมือที่ใช้ อยู่ในช่วง 92 ถึง 103% ซึ่งวิธีที่พัฒนาขึ้นนี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ เพื่อหาปริมาณเมทานอล และเอทานอล ในตัวอย่างน้ำหมักผลไม้ทั้ง 5 ชนิด ได้แก่ ฝรั่ง มะละกอ มันแกว แตงไทย และกล้วยได้ โดยข้อดีของการวิเคราะห์นี้ คือ มีความง่ายในการเตรียมสารตัวอย่าง สามารถทำการวิเคราะห์ได้อย่างรวดเร็วอีกทั้งมีความถูกต้อง และแม่นยำสูง

DSpace software copyright © 2002-2025 LYRASIS

  • Cookie settings
  • Privacy policy
  • End User Agreement
  • Send Feedback