Repository logo
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
Repository logo

UPDC

  • Communities & Collections
  • All of DSpace
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
  1. Home
  2. Browse by Author

Browsing by Author "กัญญาณี บัวลอย"

Now showing 1 - 1 of 1
Results Per Page
Sort Options
  • Loading...
    Thumbnail Image
    Item
    ไม้ดอกไม้ประดับในการจัดออกแบบสวนและภูมิทัศน์ในมหาวิทยาลัยพะเยา ปี พ.ศ. 2561-2562
    (มหาวิทยาลัยพะเยา, 2020) กัญญาณี บัวลอย; สุดารัตน์ จันทรเสนา
    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เปรียบเทียบจำนวนการใช้ไม้ดอก ไม้ประดับที่แตกต่างกันในปี 2561 และ 2562 2) เปรียบเทียบจำนวนและชนิดการใช้ไม้ดอก ไม้ประดับในปี 2561 และ 2562 ในจุดที่มีการปรับแต่งภูมิทัศน์ในพื้นที่ของมหาวิทยาลัยพะเยา เพื่อศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับชนิดพืช จำนวน วิธีการ และสถานที่ และเป็นการจัดระบบการจัดการไม้ดอก ไม้ประดับ ให้เกิดประโยชน์คุ้มค่า และเป็นระบบมากขึ้น พบว่า จำนวนการใช้ไม้ดอก ไม้ประดับที่ใน ปี พ.ศ. 2561 มีจำนวนการนำไม้ดอก ไม้ประดับไปใช้จัดสวนในมหาวิทยาลัยพะเยา จำนวน 261,965 ต้น และปี พ.ศ. 2562 มีจำนวน 231,975 ต้น ซึ่ง ปี พ.ศ. 2561 มีจำนวนการนำไม้ดอก ไม้ประดับไปใช้มากกว่า ปี พ.ศ. 2562 จำนวน 29,990 ต้น จำนวนและชนิดการใช้ไม้ดอก ไม้ประดับในปี 2561 และ 2562 ในจุดที่มีการปรับแต่งภูมิทัศน์ในพื้นที่ของมหาวิทยาลัยพะเยาทั้ง 4 จุด โดยจุดที่ 1 (บริเวณป้ายหน้ามอมหาวิทยาลัยพะเยาถึงลานสมเด็จพระนเรศวร) จุดที่ 2 (บริเวณวงเวียนหน้าถนนคณะวิศวกรรมศาสตร์ถึงหอประชุมพญางำเมือง) จุดที่ 3 (บริเวณหน้าตึกอธิการบดีถึงวงเวียนหน้าตึกอธิการบดี) และจุดที่ 4 (บริเวณพื้นที่ทั่วไปที่ใช้ไม้ดอก ไม้ประดับทั้งภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัยพะเยา) จากการสำรวจพบว่า ในปี 2561 จุดที่ 4 (69 ชนิด) 2 (53 ชนิด) 3 (23 ชนิด) และ 1 (16 ชนิด) มีความหลากหลายของการใช้ชนิด ของต้นไม้ประดับสูงสุดและลดลงถึงต่ำสุด ตามลำดับ ส่วนจำนวนต้นไม้ พบว่า จุด 2 (139,873 ต้น) 4 (63,925 ต้น) 3 (32,382 ต้น) และ 1 (17,561 ต้น) มีการใช้ต้นไม้ประดับในจำนวนที่มากที่สุด และลดลงถึงน้อยที่สุด ตามลำดับ ซึ่งสอดคล้องกับปี 2562 โดยชนิดของพันธุ์ไม้ที่ใช้เรียงจากมากไปน้อย คือ จุดที่ 4 (79 ชนิด) 2 (56 ชนิด) 3 (23 ชนิด) และ 1 (17 ชนิด) และปริมาณที่ใช้จุด 2 (125,839 ต้น) 4 (65,442 ต้น) 3 (23,133 ต้น) และ 1 (17,561 ต้น) ตามลำดับ ไม้ประดับที่มีจำนวนการใช้สูง ได้แก่ ชาฮกเกี้ยน (Carmona retusa (Vahl) Masam.) พิทูเนีย (Petunia Hybrida) ดาวกระจาย (Cosmos sulphureus Cav.) หูปลาช่อน (Acalypha wilkesiana Mull. Arg ) ถั่วบราซิล (Arachis pintoi) ดาวเรือง (Tagetes erecta L. ) สร้อยไก่ (Celosia argentea L. cv. Plumosa) ซัลเวียเลดี้ (Salvia spp.) ทานตะวัน (Helianthus annuus L.) และบานไม่รู้โรย (Gomphrena globosa L.) ข้อมูลของเราจะสามารถช่วยในการเตรียมการ และปรับปรุงระบบการใช้ไม้ดอก ไม้ประดับในการตกแต่งภูมิทัศน์ และการลดค่าใช้จ่ายและเวลา เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการคาดการณ์ในจำนวน และชนิดของพืชที่จะใช้ในปีถัดไป

DSpace software copyright © 2002-2025 LYRASIS

  • Cookie settings
  • Privacy policy
  • End User Agreement
  • Send Feedback