Repository logo
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
Repository logo

UPDC

  • Communities & Collections
  • All of DSpace
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
  1. Home
  2. Browse by Author

Browsing by Author "อัคราทร พรรณขาม"

Now showing 1 - 1 of 1
Results Per Page
Sort Options
  • Loading...
    Thumbnail Image
    Item
    บทบาทการพัฒนาท้องที่ของกำนันหลังปี พ.ศ. 2540 : กรณีศึกษาจังหวัดพะเยา
    (มหาวิทยาลัยพะเยา, 2020) อัคราทร พรรณขาม
    การศึกษาบทบาทการพัฒนาท้องที่ของกำนันหลังปี พ.ศ. 2540 : กรณีศึกษาจังหวัดพะเยา มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาบทบาทการกำหนดนโยบายในการพัฒนาท้องที่ของกำนันหลังปี พ.ศ. 2540 และเพื่อศึกษาบทบาทการนำนโยบายไปปฏิบัติในการพัฒนาท้องที่ของกำนันหลังปี พ.ศ. 2540 การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยส่วนนี้ ประกอบด้วย แนวทางการศึกษาจากเอกสาร และการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยใช้การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างซึ่งได้สัมภาษณ์กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 22 คน ประกอบด้วยผู้บังคับบัญชาของกำนัน ประธานชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้านฯลฯ ของแต่ละอำเภอ กำนันผู้ที่มีผลการปฏิบัติหน้าที่ดีเด่น และผู้ที่ดำรงตำแหน่งกำนัน ผลการวิจัยพบว่า บทบาทการกำหนดนโยบายในการพัฒนาท้องที่ของกำนันหลังปี พ.ศ. 2540 ถึงแม้จะมีการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และส่งผลให้กำนันไม่ได้เข้าไปมีบทบาทตามกฎหมายในการพัฒนาท้องถิ่น แต่กฎหมายหลักของกำนันไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงในทางที่เป็นลบต่อบทบาทของกำนัน กำนันยังคงมีบทบาทในการกำหนดนโยบายแต่เปลี่ยนสถานะจากผู้มีอำนาจตัดสินใจไปเป็นผู้ประสานงาน ขณะที่ความคาดหวังของประชาชนในการกำหนดนโยบายของกำนัน พบว่า ประชาชนยังคงตั้งความคาดหวังไว้ที่กำนันเป็นอันดับแรก เนื่องจากกำนันยังคงความเป็นผู้นำทางธรรมชาติในตำบล และการกำหนดนโยบายเป็นไปตามตัวแบบกระบวนการ ขณะที่บทบาทการนำนโยบายไปปฏิบัติในการพัฒนาท้องที่ของกำนันหลังปี พ.ศ. 2540 พบว่า การที่ฝ่ายปกครองมีบุคลากรปฏิบัติหน้าที่อยู่ในทุกหมู่บ้านทำให้ส่วนราชการต่าง ๆ ได้ให้ความสำคัญต่อกำนันในฐานะผู้ขับเคลื่อนนโยบายในพื้นที่ ขณะที่ประชาชนไม่ได้คาดหวังให้กำนันนำนโยบายทุกเรื่องไปปฏิบัติอย่างเช่นอดีต ความคาดหวังดังกล่าวจะกระจายไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ที่ขับเคลื่อนในพื้นที่ตามภารกิจที่ตนทำ แต่กำนันยังคงถูกคาดหวังว่าจะเป็นผู้นำนโยบายที่ไม่มีหน่วยงานใดปฏิบัตินำไปปฏิบัติในพื้นที่ ส่วนขั้นตอนการนำนโยบายไปปฏิบัติในพื้นที่เป็นไปตามแนวคิดการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติในระดับจุลภาคของศาสตราจารย์วรเดช จันทรศร

DSpace software copyright © 2002-2025 LYRASIS

  • Cookie settings
  • Privacy policy
  • End User Agreement
  • Send Feedback