Repository logo
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
Repository logo

UPDC

  • Communities & Collections
  • All of DSpace
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
  1. Home
  2. Browse by Author

Browsing by Author "อมรพัชรีรัตน์ พรหมดี"

Now showing 1 - 1 of 1
Results Per Page
Sort Options
  • Loading...
    Thumbnail Image
    Item
    การเปลี่ยนแปลงทางสัณฐานวิทยาของช่อดอกกล้วยน้ำว้าเมื่อนำมาเพาะเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ
    (2017) อมรพัชรีรัตน์ พรหมดี
    การเปลี่ยนแปลงทางสัณฐานวิทยาของช่อดอกกล้วยน้ำว้าเมื่อนำมาเพาะเลี้ยงในอาหารกึ่งแข็งสูตร MS โดยการศึกษาผลของการใช้สารต้านอนุมูลอิสระ ได้แก่ กรดแอสคอร์บิค กรด ซิตริก และผงถ่าน เพื่อลดการเกิดปฏิกิริยา Browning และศึกษาผลของสารควบคุมการเจริญเติบโต NAA BA TDZ Kinetin และน้ำมะพร้าว ต่อการเจริญและพัฒนาของช่อดอกกล้วยน้ำว้า พบว่า การใช้สารต้านอนุมูลอิสระแบบการนำชิ้นส่วนช่อดอกกล้วยน้ำว้าไปชุบในสารละลายกรดแอสคอร์บิค ความเข้มข้น 1% ชิ้นส่วนที่ผ่านการชุบสารละลายกรดแอสคอร์บิคมีระดับความดำน้อยกว่าชิ้นส่วนที่ไม่ได้ผ่านการชุบสารละลายกรดแอสคอร์บิค และชิ้นส่วนทั้งหมดสามารถรอดชีวิตได้ 100% ส่วนการใช้สารละลายสารต้านอนุมูลเทลงไปบนหน้าอาหารเพาะเลี้ยง ชิ้นส่วนที่เพาะเลี้ยงในอาหารที่มีการเติมผงถ่านมีระดับความดำน้อยกว่าอาหารที่ไม่มีการเติมผงถ่าน และชิ้นส่วนที่เพาะเลี้ยงในอาหารที่เติมสารละลายกรดซิตริก 1 และ 5% มีระดับความดำน้อยกว่าชิ้นส่วนที่เพาะเลี้ยงในอาหารที่เติมสารละลายกรดแอสคอร์บิค 1 และ 5% แต่เนื่อเยื่อทั้งหมดก็ไม่พบการรอดชีวิต ส่วนการใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต NAA 5 mg/l และ BA 5 mg/l ให้จำนวนหน่อที่มากที่สุดถึง 11.5 หน่อ TDZ 5 mg/l ให้จำนวนหน่อที่มากที่สุดถึง 9.14 หน่อ และ Kinetin 5 mg/l ให้จำนวนหน่อที่มากที่สุดถึง 8.87 หน่อ ชิ้นส่วนที่เพาะเลี้ยงทั้งหมดสามารถแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงทางสัณฐานวิทยาได้หลายแบบ ได้แก่ การเกิดช่อดอกใหม่ การเจริญเป็นผล ดอก หน่อ รวมถึงการเจริญเป็นที่สมบูรณ์และมีรากเกิดขึ้น

DSpace software copyright © 2002-2025 LYRASIS

  • Cookie settings
  • Privacy policy
  • End User Agreement
  • Send Feedback