Repository logo
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
Repository logo

UPDC

  • Communities & Collections
  • All of DSpace
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
  1. Home
  2. Browse by Author

Browsing by Author "อธิพงษ์ เพ็ชรเกิด"

Now showing 1 - 1 of 1
Results Per Page
Sort Options
  • Loading...
    Thumbnail Image
    Item
    ภาพแทนนักโทษผ่านสารคดีไทยในรอบ 2 ทศวรรษ (พ.ศ. 2540-2559)
    (มหาวิทยาลัยพะเยา, 2021) อธิพงษ์ เพ็ชรเกิด
    งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการประกอบสร้างความเป็นนักโทษผ่านภาษา และศึกษาภาพแทนนักโทษที่ปรากฏในงานเขียนสารคดีไทยในรอบ 2 ทศวรรษ (พ.ศ. 2540-พ.ศ. 2559) ด้วยกรอบแนวคิดวาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ (Critical Discourse Analysis–CDA) ของแฟร์เคลาฟ์ (Fairclough) และกรอบแนวคิดเรื่องภาพแทนของสจ๊วต ฮอลล์ (Hall) โดยศึกษาข้อมูลจากงานเขียนสารคดีไทยในช่วง พ.ศ. 2540-2559 จากนักเขียนจำนวนสามกลุ่ม คือ กลุ่มนักเขียนสารคดี กลุ่มนักเขียนที่เป็นนักโทษหรือเคยเป็นนักโทษ และกลุ่มนักเขียนที่เป็นผู้คุมเรือนจำ ผลการศึกษาพบว่า นักเขียนทั้งสามกลุ่มประกอบสร้างความเป็นนักโทษผ่านกลวิธีทางภาษา จำนวน 11 กลวิธี ได้แก่ กลวิธีการใช้คำศัพท์หรือวลี กลวิธีการใช้ประโยคแสดงเหตุผล กลวิธีการใช้มูลบท กลวิธีการใช้ความเปรียบ กลวิธีการใช้สหบท กลวิธีการใช้คำแสดงทัศนภาวะ กลวิธีการอ้างถึงส่วนใหญ่ กลวิธีการใช้คำถามเชิงวาทศิลป์ กลวิธีการซ้ำประโยค กลวิธีการใช้โครงสร้างประโยคแสดงความสัมพันธ์ และกลวิธีการใช้เรื่องเล่า การประกอบสร้างดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าภาพลักษณ์ของนักโทษได้ถูกตีความและนำเสนอแตกต่างกันออกไปตามมุมมองของนักเขียนแต่ละคน ส่วนผลการศึกษาด้านภาพแทนพบว่า นักเขียนทั้งสามกลุ่มสร้างภาพแทนให้แก่นักโทษ จำนวน 6 ลักษณะ คือ ภาพแทนบุคคลอันตราย ภาพแทนนักโทษที่มีความผิดปกติทางจิต ภาพแทนบุคคลที่สังคมไม่ต้องการ ภาพแทนบุคคลที่น่าเวทนา ภาพแทนนักโทษในคราบผู้บริสุทธิ์ที่โชคร้าย และภาพแทนนักโทษที่พร้อมจะกลับตัวกลับใจเป็นคนดี ซึ่งภาพแทนดังกล่าวนำไปสู่การสร้างอัตลักษณ์ให้กับนักโทษในที่สุด

DSpace software copyright © 2002-2025 LYRASIS

  • Cookie settings
  • Privacy policy
  • End User Agreement
  • Send Feedback

We collect and process your personal information for the following purposes: Authentication, Preferences, Acknowledgement and Statistics.
To learn more, please read our
privacy policy.

Customize