Repository logo
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
Repository logo

UPDC

  • Communities & Collections
  • All of DSpace
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
  1. Home
  2. Browse by Author

Browsing by Author "ศุจีภรณ์ กุนแสง"

Now showing 1 - 1 of 1
Results Per Page
Sort Options
  • Loading...
    Thumbnail Image
    Item
    การกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดินพื้นที่สังคมป่าเต็งรัง มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา
    (มหาวิทยาลัยพะเยา, 2018) ศุจีภรณ์ กุนแสง
    การประเมินการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดินพื้นที่สังคมป่าเต็งรัง มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา ศึกษาเพื่อประเมินปริมาณการกักเก็บคาร์บอน และเพื่อเก็บข้อมูลตัวอย่างพรรณไม้ ทำการสารวจพื้นที่ทั้งหมด 4,800 ตารางเมตร โดยวิธีการวางแปลงตัวอย่าง 3 สถานี คำนวณมวลชีวภาพเหนือพื้นดินโดยใช้สมการแอลโลเมตรี (Allometric) ประเมินปริมาณการกักเก็บคาร์บอน วิเคราะห์องค์ประกอบและความสำคัญของพรรณไม้ (Important Value Index, IVI) ผลการสำรวจพบว่า พบพรรณไม้ใน 18 วงศ์ 41 ชนิด จำนวน 943 ต้น มีมวลชีวภาพรวมเท่ากับ 372,879.3 t.ha-1 มีการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพรวมเท่ากับ 179,557.9 tC.ha-1 ดัชนีความสำคัญของพรรณไม้สูงสุด คือ พลวง (Dipterocarpus tuberculatus Roxb.) (77.40) รองลงมา คือ เต็ง (Shorea obtusa Wall. ex Blume.) (64.76) รัง (Pentacme siamensis (Miq.) Kurz.) (37.59) และเหียง (Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq.) (23.04) ตามลำดับ ดัชนีความสำคัญเชิงสังคม ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (Species Diversity) เท่ากับ 2.19 ความมากหลายของชนิดพันธุ์ (Species Richness) เท่ากับ 6.86 และความสม่ำเสมอของชนิดพันธุ์ (Species Evenness) เท่ากับ 0.59 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัจจัยทางกายภาพต่อปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเป็นไปในทางตรงกันข้ามที่ระดับ -0.33 มีความสัมพันธ์ทางตรงกันข้ามในระดับปานกลาง

DSpace software copyright © 2002-2025 LYRASIS

  • Cookie settings
  • Privacy policy
  • End User Agreement
  • Send Feedback