Repository logo
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
Repository logo

UPDC

  • Communities & Collections
  • All of DSpace
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
  1. Home
  2. Browse by Author

Browsing by Author "วรวิทย์ แมดเมือง"

Now showing 1 - 1 of 1
Results Per Page
Sort Options
  • Loading...
    Thumbnail Image
    Item
    การพัฒนาระบบผลตอบแทนเพื่อสร้างแรงจูงใจในการทำงาน: กรณีศึกษา ร้านเอบีซี ตำบลท่าวังทอง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา
    (มหาวิทยาลัยพะเยา, 2018) วรวิทย์ แมดเมือง
    การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาระบบผลตอบแทน เพื่อสร้างแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานร้านเอบีซี ใช้วิธีการวิจัยโมเดลผสานระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการผสานแบบมีรูปแบบหลักร่วมกับรูปแบบรอง มีการเก็บรวบรวมข้อมูลดังนี้ โดยเริ่มจากการศึกษากรอบแนวคิดตามการศึกษาของ Decenzo and Robbin (2009) และใช้การวิเคราะห์ช่องว่างของระบบตอบแทน Brown (2001 อ้างอิงใน Armstrong, 2006) เป็นแนวคำถามในการสัมภาษณ์ ซึ่งสัมภาษณ์แบบตัวต่อตัวกับเจ้าของกิจการ 1 ราย และพนักงานร้านเอบีซี 5 ราย จากนั้นทำการวิเคราะห์ข้อมูลการสัมภาษณ์ เพื่อระบุปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานร้านเอบีซี เพื่อนำไปใช้ในการออกแบบแบบสอบถาม และเก็บรวมรวบข้อมูลโดยการแจกแบบสอบถาม จำนวน 50 ชุด ให้กับพนักงานร้านเอบีซี จำนวน 50 ราย จากแบบสอบถาม จำนวน 50 ชุด ได้รับข้อมูลที่สมบูรณ์ จำนวน 40 ชุด ส่วนแบบสอบถามที่เหลืออีก 10 ชุด เป็นแบบสอบถามที่ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้ เนื่องจากแบบสอบถามสูญหาย และนำข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปร และการวิเคราะห์การถดถอย จากการวิเคราะห์ทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ พบว่า นอกจากการลางาน อายุการทำงานแล้วนั้น โอกาสที่จะทำงานต่อในอนาคต สามารถเป็นตัวชี้วัดการสร้างแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานร้านเอบีซีได้ดีเช่นกัน ทั้งนี้เพื่อการสร้างแรงจูงใจในการทำงานที่เพิ่มขึ้น ควรให้พนักงานมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในที่ประชุม และการดูแลสินค้าของพนักงานร้านเอบีซี นอกจากนี้ องค์การควรให้ความสำคัญกับการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน โดยสร้างระบบผลตอบแทนที่มีผลต่อความรู้สึกมากกว่าผลตอบแทนที่อยู่ในรูปแบบของตัวเงิน

DSpace software copyright © 2002-2025 LYRASIS

  • Cookie settings
  • Privacy policy
  • End User Agreement
  • Send Feedback