Repository logo
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
Repository logo

UPDC

  • Communities & Collections
  • All of DSpace
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
  1. Home
  2. Browse by Author

Browsing by Author "วรปรัชญ์ ชัยคำ"

Now showing 1 - 1 of 1
Results Per Page
Sort Options
  • Loading...
    Thumbnail Image
    Item
    การเตรียมและการทดสอบคุณสมบัติของฟิล์มผสมระหว่างพอลิ (แอล-แลคไทด์) พอลิ (บิวทิลีน อดิเพท-โค-เทอเรฟทาเลท) โดยวิธีหล่อขึ้นรูปด้วยตัวทำละลาย
    (มหาวิทยาลัยพะเยา, 2018) วรปรัชญ์ ชัยคำ; กมลวรรณ ทองธนะเศรษฐ์
    ฟิล์มบรรจุภัณฑ์ที่สามารถย่อยสลายได้ในธรรมชาติ เตรียมจากพอลิ (แอล-แลคไทด์) ผสมกับพอลิ (บิวทิลีน อดิเพท-โค-เทอเรฟทาเรท) โดยวิธีการหล่อขึ้นรูปด้วยตัวทำละลาย ทำการศึกษาผลของสัดส่วนของพอลิเมอร์ น้ำหนักโมเลกุลและปริมาณของพลาสติไซเซอร์ต่อฟิล์มผสม พลาสติไซเซอร์ที่ใช้ คือ พอลิ (เอสเทอร์ อดิเพท) (พาราเพล็กจี40) และพอลิ (เอทีลีน ไกลคอล) น้ำหนักโมเลกุล 1500, 8000 และ 20000 ความเข้มข้น 1, 2, 3, 4 และ 5 phr จากผลการศึกษาพบว่า พลาสติไซเซอร์ทั้งสองชนิดที่เติมลงไปไม่พันธะทางเคมีต่อพอลิเมอร์ ความโปร่งแสงของฟิล์มผสมลดลง เมื่อน้ำหนักโมเลกุลและความเข้มข้นพลาสติไซเซอร์เพิ่มขึ้น และฟิล์มผสมทุกอัตราส่วนสามารถป้องกันรังสียูวีได้ นอกจากนี้ฟิล์มผสมยังมีค่าความต้านทานต่อแรงดึงลดลง และมีความยืดหยุ่นเพิ่มขึ้น เมื่อน้ำหนักโมเลกุล และความเข้มข้นพลาสติไซเซอร์เพิ่มขึ้น ฟิล์มผสม PLL/PBAT/ParaplexG40 ความเข้มข้น 1 phr ให้ค่าร้อยละการยืด ณ จุดขาดสูงถึง 191.90±30.50% และมีคุณสมบัติการป้องกันรังสียูวี ได้ดีซึ่งเหมาะสมในการนำไปประยุกต์ใช้เป็นถุงบรรจุภัณฑ์

DSpace software copyright © 2002-2025 LYRASIS

  • Cookie settings
  • Privacy policy
  • End User Agreement
  • Send Feedback