Repository logo
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
Repository logo

UPDC

  • Communities & Collections
  • All of DSpace
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
  1. Home
  2. Browse by Author

Browsing by Author "วชิรวิทย์ สีเสน"

Now showing 1 - 1 of 1
Results Per Page
Sort Options
  • Loading...
    Thumbnail Image
    Item
    การคำนวณค่าพารามิเตอร์ทางจักรวาลวิทยาจากแบบจำลองกฎกำลังแฟนธอม
    (มหาวิทยาลัยพะเยา, 2018) วชิรวิทย์ สีเสน
    เอกภพในปัจจุบันมีการขยายตัวแบบเร่งออก นักฟิสิกส์และนักจักรวาลวิทยาเชื่อว่าเป็นผลมาจากพลังงานมืด และมีการนำเสนอแบบจำลองต่าง ๆ เพื่ออธิบายถึงการขยายตัวแบบเร่งออกเนื่องจากพลังงานมืดนี้จากการศึกษาแบบจำลองเตคิออนกฎกำลัง และแบบจำลองควินเทสเซนส์กฎกำลัง พบว่า ยังไม่สามารถนำมาอธิบายการขยายตัวของเอกภพได้ ดังนั้นจึงได้มีการขยายแนวคิดจากเดิมไปเป็นการศึกษาแบบแฟนธอมซึ่ง a x (ts - t)β โดย β < 0 จะสอดคล้องกับการขยายตัวแบบเร่งออกของเอกภพ และจากแบบจำลองแฟนธอมเตคิออนกฎกำลัง และแบบจำลองแฟนธ่อมควินเทสเซนส์ พบว่า พารามิเตอร์เลขชี้กำลังเบตา , พารามิเตอร์ ความหน่วง q0 และสมการสถานะ wϕ มีค่าพารามิเตอร์ที่คำนวณได้เท่ากัน คือ β = -10:81+13:73-13:58 (WMAP9 + eCMB+BAO+H0), β = -42:08+167:8-178:9 (TT; TE;EE+lowP+Lensing+ext), q0 = -1:093+0:117-0:116 (WMAP9+eCMB + BAO+H0), q0 = -1:0237+0:0943-0:1005 (TT; TE;EE+lowP + Lensing+ext), wϕ = -1:06+3:54-5:89 (WMAP9+eCMB+BAO+H0) และ wϕ = -1:02+2:54 -1:74 (TT; TE;EE+lowP+Lensing+ext) ซึ่งค่าพารามิเตอร์เลขชี้กำลังสอดคล้องกับเงื่อนไขที่ทำให้เกิดการเร่งออกของเอกภพ เช่นเดียวกับค่าพารามิเตอร์ความหน่วงที่มีค่าน้อยกว่าศูนย์ และเมื่อเทียบกับค่าสมการสถานะของยานสำรวจอวกาศ คือ wϕ;0;obs=-1:073+0:090-0:089 (WMAP9+eCMB+BAO+H0), wϕ;0;obs =-1:019+0:075-0:080 (TT; TE;EE+lowP +Lensing+ext) พบว่า ค่าสมการสถานะที่คำนวณได้มีค่าใกล้เคียงกับค่าจากยานสำรวจ ดังนั้นแบบจำลองแฟนธอมเตคิออนกฎกำลัง และแบบจำลองแฟนธอมควินเทสเซนส์กฎกำลัง สามารถใช้อธิบายการขยายตัวแบบเร่งออกของเอกภพได้

DSpace software copyright © 2002-2025 LYRASIS

  • Cookie settings
  • Privacy policy
  • End User Agreement
  • Send Feedback