Repository logo
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
Repository logo

UPDC

  • Communities & Collections
  • All of DSpace
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
  1. Home
  2. Browse by Author

Browsing by Author "ยุวดี จันทะปะทักษ์"

Now showing 1 - 1 of 1
Results Per Page
Sort Options
  • Loading...
    Thumbnail Image
    Item
    การศึกษาผลของการเพาะปลูกพืชแก่นตะวัน (Helianthus tuberosus L.) แบบเกษตรอินทรีย์ต่อปริมาณอินนูลิน(inulin)
    (มหาวิทยาลัยพะเยา, 2018) ยุพา ทิมสม; ยุวดี จันทะปะทักษ์
    การศึกษาผลของการเพาะปลูกแก่นตะวัน(Helianthus tuberosus L.) แบบเกษตรอินทรีย์ต่อปริมาณอินนูลิน (Inulin) มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของแก่นตะวันในการปลูกแบบเกษตรอินทรีย์ ปริมาณอินนูลินในหัวแก่นตะวันที่ได้จากการปลูกแบบเกษตรอินทรีย์ ธาตุอาหารในดิน (N,P,K) ที่ส่งผลต่อปริมาณอินนูลินในหัวแก่นตะวัน ในพื้นที่บ้านบัว ตำบลบ้านตุ่น อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา โดยใช้วิธีการวัดการเจริญเติบโตของพืชแก่นตะวัน วัดความสูงและจำนวนใบของต้นแก่นตะวัน วัดความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศและวัดอุณหภูมิ ทำการวิเคราะห์สมบัติพื้นฐานของดิน ได้แก่ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) วัดปริมาณอินนูลิน โดยใช้วิธี Phenol-sulfuric acid assay และ 3, 5 - Dinitrosalicylic acid colorimetric assay ผลการศึกษาการเจริญเติบโตของพืชแก่นตะวัน พบว่า อุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศมีความสัมพันธ์กับความสูงของต้นแก่นตะวันในช่วงฤดูเดียวกัน ธาตุอาหารในดินพบว่า แปลงที่ 1 มีธาตุอาหารไนโตรเจนและโพแทสเซียมในดินสูงสุด และมีธาตุอาหารฟอสฟอรัสในดินต่ำสุด รองลงมา คือ แปลงที่ 3 ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบปริมาณธาตุอาหารดินแปลงที่ 2 มีธาตุอาหารฟอสฟอรัสสูงสุด และมีธาตุอาหารไนโตรเจนต่ำสุด มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) แปลงตัวอย่างที่ 2 มีปริมาณอินนูลินมากที่สุด คือ 81.5% รองลงมา ได้แก่ แปลงตัวอย่างที่ 3 คือ 64.7% ตามลำดับ

DSpace software copyright © 2002-2025 LYRASIS

  • Cookie settings
  • Privacy policy
  • End User Agreement
  • Send Feedback