Repository logo
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
Repository logo

UPDC

  • Communities & Collections
  • All of DSpace
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
  1. Home
  2. Browse by Author

Browsing by Author "มาริสา แย้มเจริญ"

Now showing 1 - 1 of 1
Results Per Page
Sort Options
  • Loading...
    Thumbnail Image
    Item
    การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทระดับชุมชนของฝ่ายปกครอง : กรณีศึกษาจังหวัดพะเยา
    (มหาวิทยาลัยพะเยา, 2019) มาริสา แย้มเจริญ
    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาบทบาทของฝ่ายปกครอง ในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน โดยการศึกษาบทบาทอำนาจหน้าที่ในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทชุมชนของนายอำเภอและกำนันที่มีกฎหมายบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พุทธศักราช 2550 รวมทั้งกฎกระทรวงว่าด้วยการไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาททางแพ่งและอาญา พุทธศักราช 2553 เป็นการบัญญัติเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และคุณสมบัติในการคัดเลือกผู้ไกล่เกลี่ย ซึ่งฝ่ายปกครองถือได้ว่ามีความใกล้ชิดกับชุมชนและกฎหมายให้อำนาจในการยุติข้อพิพาทชุมชนได้ทั้งทางแพ่งและอาญา แต่ว่าในความเป็นจริงประชาชนยังขาดความเชื่อมั่นหรือเข้าใจในกระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของฝ่ายปกครอง ซึ่งเป็นผลกระทบจากกระบวนการอื่น ๆ ทำให้บทบาทของฝ่ายปกครองลดน้อยลง และฝ่ายปกครองไม่มีความรู้ความเชี่ยวชาญที่เฉพาะด้าน ดังนั้น ทางเลือก คือ นำข้อบังคับกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการปฏิบัติงานประนีประนอมข้อพิพาทของคณะกรรมการหมู่บ้าน พุทธศักราช 2530 เป็นการกำหนดบทบาทของคณะกรรมการหมู่บ้าน เช่น ผู้ใหญ่บ้าน เป็นต้น ในการทำหน้าที่เป็นผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน รวมถึงการนำพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. 2502 มาพิจารณาปรับใช้และยืดเป็นแนวทางในการแก้ไขความขัดแย้งภายในชุมชนร่วมกัน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถให้กับผู้ไกล่เกลี่ย และเพิ่มประสิทธิภาพในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทมากขึ้น

DSpace software copyright © 2002-2025 LYRASIS

  • Cookie settings
  • Privacy policy
  • End User Agreement
  • Send Feedback