Repository logo
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
Repository logo

UPDC

  • Communities & Collections
  • All of DSpace
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
  1. Home
  2. Browse by Author

Browsing by Author "ภูมิพัฒน์ หอมอบ"

Now showing 1 - 1 of 1
Results Per Page
Sort Options
  • Loading...
    Thumbnail Image
    Item
    การใช้ระบบบึงประดิษฐ์ในการปรับปรุงคุณภาพน้ำเสียจากการเลี้ยงปลาเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่
    (มหาวิทยาลัยพะเยา, 2020) ภูมิพัฒน์ หอมอบ
    การเพาะเลี้ยงปลามีการใช้ทรัพยากรน้ำเป็นจำนวนมาก และน้ำทิ้งที่เกิดขึ้นจากบ่อเพาะเลี้ยงปลาจัดเป็นน้ำเสียที่จำเป็นต้องมีการบำบัด เนื่องจากมีการปนเปื้อนจากเศษอาหาร และสิ่งขับถ่ายของปลาอีกด้วยจึงควรมีการบำบัดก่อนปล่อยลงสู่ธรรมชาติ การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาความเหมาะสมของชนิดระบบบึงประดิษฐ์ในการบำบัดน้ำเสียจากการเพาะเลี้ยงปลา ตลอดจนสามารถนำกลับมาหมุนเวียนใช้ใหม่ได้ แบบจำลองบึงประดิษฐ์ที่ใช้ในการทดลองมี 4 แบบ ได้แก่ น้ำไหลเหนือผิวชั้นกรอง, น้ำไหลใต้ผิวชั้นกรองในแนวราบ, น้ำไหลใต้ผิวชั้นกรองในแนวดิ่ง และแบบลอยน้ำ แบบจำลองระบบบึงประดิษฐ์ที่ใช้ทดลองของแต่ละระบบมีขนาดขนาดกว้าง 0.5 เมตร ยาว 0.7 เมตร ลึก 0.4 เมตร ปลูกด้วยต้นคล้าน้ำ และกกลังกา น้ำเสียจากบ่อเลี้ยงปลาถูกสูบป้อนเข้าสู่แบบจำลองแบบต่อเนื่อง ผลการวิจัยพบว่า แบบจำลองบึงประดิษฐ์แบบไหลใต้ผิวชั้นกรองแบบแนวราบ และแบบแนวดิ่งนั้น มีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียจากการเพาะเลี้ยงปลาได้ดีกว่าแบบจำลองบึงประดิษฐ์แบบไม่มีชั้นกรอง แบบจำลองระบบบึงประดิษฐ์แบบไหลใต้ผิวชั้นกรองแบบแนวราบ มีประสิทธิภาพในการบำบัดซีโอดี ของแข็งแขวนลอย เจลดาลห์ไนโตรเจน และออโธฟอสเฟต ของต้นคล้าน้ำมีค่าเท่ากับร้อยละ 61, 66, 75, และ53 ตามลำดับ และต้นกกลังกามีค่าเท่ากับร้อยละ 76, 73, 66. และ53 ตามลำดับ

DSpace software copyright © 2002-2025 LYRASIS

  • Cookie settings
  • Privacy policy
  • End User Agreement
  • Send Feedback