Repository logo
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
Repository logo

UPDC

  • Communities & Collections
  • All of DSpace
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
  1. Home
  2. Browse by Author

Browsing by Author "พัสน์นันท์ ละวงค์เยอ"

Now showing 1 - 1 of 1
Results Per Page
Sort Options
  • Loading...
    Thumbnail Image
    Item
    ผลกระทบของฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอนในบรรยากาศกับการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด และกลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจในจังหวัดลำปาง
    (มหาวิทยาลัยพะเยา, 2021) พัสน์นันท์ ละวงค์เยอ
    ระดับฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM10) เกินค่ามาตรฐานอยู่บ่อยครั้งในจังหวัดลำปาง และ PM10 มีความสัมพันธ์กับจำนวนการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลในกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด และกลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจจำนวนมาก การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์ เพื่อหาความสัมพันธ์และความเสี่ยงสุขภาพเมื่อความเข้มข้นของ PM10 เปลี่ยนแปลงกับจำนวนการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลในกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด และกลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจในจังหวัดลำปาง โดยใช้ข้อมูลคุณภาพอากาศและอุตุนิยมวิทยา กับข้อมูลการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลในกลุ่มโรคที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์ใช้แบบจำลองการถดถอยปัวซองตามอนุกรมเวลา ศึกษาในปี พ.ศ. 2557-2560 ผลการศึกษาพบว่า การเพิ่มขึ้นของ PM10 มีความสัมพันธ์กับจำนวนการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลในกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด และกลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจ โดยผลกระทบปรากฏชัดเจนในกลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจอย่างมีนัยสำคัญ ในช่วงระยะเวลา 1 ถึง 4 วัน โดยเฉพาะในวันเดียวกัน (lag 0) ที่พบความเสี่ยงสูง โดยทุก ๆ การเพิ่มขึ้นของ PM10 10 μg/m3 จะทำให้มีความเสี่ยงในการเข้ารับการรักษาในกลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจเพิ่มขึ้นถึง 3.8% (95% CI: 3.0-4.6) อย่างไรก็ตาม งานวิจัยนี้มีข้อเสนอแนะให้ประชาชนลดการสัมผัสกับ PM10 ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงของการเข้ารับการรักษาในกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด และกลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจข้อมูลจากงานวิจัยนี้เป็นตัวชี้วัดพื้นฐานในการจัดการด้านสุขภาพ และใช้ในการวางนโยบายด้านสุขภาพในอนาคต

DSpace software copyright © 2002-2025 LYRASIS

  • Cookie settings
  • Privacy policy
  • End User Agreement
  • Send Feedback