Repository logo
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
Repository logo

UPDC

  • Communities & Collections
  • All of DSpace
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
  1. Home
  2. Browse by Author

Browsing by Author "ปรีญาดา อภิวงค์งาม"

Now showing 1 - 1 of 1
Results Per Page
Sort Options
  • No Thumbnail Available
    Item
    การหาค่าดัชนีความสำคัญป่าเต็งรังในพื้นที่อุทยานการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อมเพื่อการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยพะเยา
    (มหาวิทยาลัยพะเยา, 2018) ปรีญาดา อภิวงค์งาม; ธัญญรัตน์ ศรีหาบุต
    การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาค่าดัชนีความสำคัญของชนิดพันธุ์ไม้ และสังคมพืชในแปลงตัวอย่างป่าเต็งรังภายในพื้นที่อุทยานการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม เพื่อการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยพะเยา อำเภอเมือง จังหวัดพะเยาในช่วงเดือนสิงหาคม ถึงเดือนตุลาคมปี 2561 ซึ่งจะนำมาใช้ในการวิเคราะห์ค่าดัชนีความสำคัญ และลักษณะสังคมพืชเชิงปริมาณ ซึ่งประกอบด้วย ความหนาแน่น ความหนาแน่นสัมพัทธ์ ความถี่ ความถี่สัมพัทธ์ ความเด่น ความเด่นสัมพัทธ์ และความอุดมสมบูรณ์ ทำการศึกษาโดยการวางแปลงตัวอย่างขนาด 40 X 40 เมตรหรือประมาณ 1 ไร่ เพื่อศึกษาพรรณไม้ยืนต้นที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางระดับอก (DBH 2 4.5 เซนติเมตร) ขึ้นไป และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ คือ การทำบัญชีรายชื่อพันธุ์ไม้ ผลการศึกษาพบพันธุ์ไม้ จำนวน 942 ต้น 19 วงศ์ 41 ชนิด มีค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์ ค่าความถี่สัมพัทธ์ และดัชนีความสำคัญสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ต้นพลวง (Dipterocorpus tuberculatus) ต้นเต็ง (Shorea obtuso) และต้นรัง (Shoreo siamensis) ตามลำดับ ส่วนค่าความเด่นสัมพัทธ์สูงสุด คือ ต้นเต็ง ลักษณะโครงสร้างของสังคมพืชในป่าเต็งรังภายในพื้นที่อุทยานการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม เพื่อการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัย พะเยา พบว่า ชั้นเรือนยอดที่สูงที่สุด ได้แก่ เหียง (Dipterocarpus obtusifolius)

DSpace software copyright © 2002-2025 LYRASIS

  • Cookie settings
  • Privacy policy
  • End User Agreement
  • Send Feedback