Repository logo
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
Repository logo

UPDC

  • Communities & Collections
  • All of DSpace
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
  1. Home
  2. Browse by Author

Browsing by Author "ทิพย์วิมล มั่งมูล"

Now showing 1 - 1 of 1
Results Per Page
Sort Options
  • Loading...
    Thumbnail Image
    Item
    การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในยุคดิจิทัล : กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลป่าซาง อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา
    (มหาวิทยาลัยพะเยา, 2022) ทิพย์วิมล มั่งมูล
    การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมอุปสรรคและปัญหา และนำไปสู่การนำเสนอแนวทางการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในยุคดิจิทัลขององค์กรบริหารส่วนตำบลป่าซาง อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา ซึ่งดำเนินการศึกษาโดยการวิจัยเชิงคุณภาพ และกำหนดกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักทั้งหมด 22 คน เก็บรวบรวมข้อมูล ผ่านเครื่องมือแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง ผลการศึกษาพบว่า อุปสรรคและปัญหาในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ในยุคดิจิทัลขององค์การบริหารส่วนตำบลป่าซาง มี 4 ข้อ ได้แก่ 1) แผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กร ยังไม่ครอบคลุมด้านเทคโนโลยี 2) ศักยภาพด้านเทคโนโลยีขององค์กรมีจำกัด 3) ความสามารถด้านเทคโนโลยี ของบุคลากรมีน้อย 4 ทัศนคติของบุคลากรที่มีต่อเทคโนโลยีมีความแตกต่างกัน จากอุปสรรคและปัญหาที่พบ สามารถนำมาพัฒนาเป็นแนวทางการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในยุคดิจิทัลขององค์กร ได้ดังนี้ 1) การรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำแผนงานพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างมีประสิทธิภาพ และติดตามผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง 2) การจัดสรรงบประมาณด้านเทคโนโลยีไว้ในข้อบัญญัติอย่างชัดเจน 3) การส่งเสริมพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ด้านการใช้เทคโนโลยีอย่างสม่ำเสมอ 4) การจัดทำการประเมินผลด้านเทคโนโลยีและทัศนคติที่มีต่อเทคโนโลยีแก่บุคลากรพร้อมทั้งนำข้อบกพร่องมาดำเนินการปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น

DSpace software copyright © 2002-2025 LYRASIS

  • Cookie settings
  • Privacy policy
  • End User Agreement
  • Send Feedback