Repository logo
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
Repository logo

UPDC

  • Communities & Collections
  • All of DSpace
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
  1. Home
  2. Browse by Author

Browsing by Author "ทศวรรต อะโนราช"

Now showing 1 - 1 of 1
Results Per Page
Sort Options
  • Loading...
    Thumbnail Image
    Item
    การพัฒนาอาหารสัตว์จากฟักทองและมันสำปะหลังหมักเพื่อการนำไปเลี้ยงโคขุน
    (มหาวิทยาลัยพะเยา, 2019) ทศวรรต อะโนราช
    การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของอาหารสัตว์ที่มีส่วนผสมของฟักทองและมันสำปะหลังหมักต่อสมรรถภาพการเจริญเติบโต การใช้อาหาร และลักษณะซากของโคเนื้อ กระบวนการหมักทำได้โดยนำฟักทองและมันสำปะหลัง ซึ่งเป็นวัตถุดิบหลัก (อัตราส่วนของแข็งต่อของเหลว 1:1) หมักร่วมกับกากน้ำตาล 1.0% และกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยชีวมวลพืช 0.1% (Aspergillus spp: Rhizopus spp.: Trichoderma spp.: and Saccharomyces cerevisiae in the ratio of 1:1:1:1) เป็นระยะเวลา 7 วัน ที่อุณหภูมิห้องเพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการและการย่อยได้ของผลิตภัณฑ์ ผลการทดลอง พบว่า อาหารหมักมีปริมาณโปรตีนสูงและสามารถเก็บไว้ได้นานกว่า 6 เดือน โดยไม่เน่าเสีย เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม เมื่อนำอาหารหมักไปพัฒนาเป็นอาหารข้นมีปริมาณโปรตีน 12% สำหรับนำไปใช้เลี้ยงโคเนื้อ โดยใช้โคเนื้อสายพันธุ์ลูกผสมเพศผู้ตอน 3 สายพันธุ์ ได้แก่ ชาร์โรเล่ส์ ซิมเมนทัล และแองกัส ที่มีน้ำหนักตัวเฉลี่ย 350+50 กก. โดยโคแต่ละตัวจะได้รับอาหารหยาบเป็นหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 และเปลือกข้าวโพดแห้ง สำหรับอาหารข้นจะใช้อาหารข้นที่มีโปรตีน 12% ในอัตราส่วน 2% ของน้ำหนักตัวต่อวัน ทดลองเลี้ยงเป็นระยะเวลา 10 เดือน เมื่อสิ้นสุดการทดลอง พบว่า โคเนื้อลูกผสมสายพันธุ์ชาร์โรเล่ส์ มีอัตราการเจริญเติบโตสูงสุด แต่มีอัตราการแลกเนื้อต่ำที่สุด เปอร์เซ็นต์ของซากตัดแต่งของโคเนื้อทั้งหมด มีค่าใกล้เคียงกัน (52-55%) (P > 0.05) สำหรับเกรดไขมันแทรก พบว่า เนื้อโคลูกผสมสายพันธุ์แองกัส ได้คะแนน 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0

DSpace software copyright © 2002-2025 LYRASIS

  • Cookie settings
  • Privacy policy
  • End User Agreement
  • Send Feedback