Repository logo
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
Repository logo

UPDC

  • Communities & Collections
  • All of DSpace
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
  1. Home
  2. Browse by Author

Browsing by Author "ณัฐราช ยะราช"

Now showing 1 - 1 of 1
Results Per Page
Sort Options
  • Loading...
    Thumbnail Image
    Item
    ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการควบคุมระดับน้ำตาลสะสมในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานในโรงพยาบาลจุน
    (มหาวิทยาลัยพะเยา, 2021) ณัฐราช ยะราช
    การศึกษาแบบ Case-control study นี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมระดับน้ำตาลสะสมในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลจุน จังหวัดพะเยากลุ่มตัวอย่าง จำนวน 440 คน แบ่งเป็นกลุ่มที่คุมระดับน้ำตาลได้ 110 คน และคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ 330 คน รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม 5 ด้าน คือ ข้อมูลทั่วไปความรอบรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมการปฏิบัติความร่วมมือในการใช้ยา และการรับรู้อุปสรรคของการควบคุมระดับน้ำตาลวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาการแจกแจงความถี่ ร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยการทดสอบไควสแควร์และการถดถอยโลจิสติก ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการคุมระดับน้ำตาลได้ดี คือ เพศ (P = 0.09) ดัชนีมวลกาย (P = 0.036) การมีผู้ดูแล (P = 0.043) ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (P < 0.001) และการรับรู้อุปสรรคของแรงสนับสนุนจากครอบครัว (P = 0.005) เมื่อทดสอบ สถิติถดถอยโลจิสติก พบว่า ความรอบรู้ด้านสุขภาพสูง (adjOR = 9.368, p < 0.001) และเพศชาย (adjOR = 1.954, p = 0.004) มีอิทธิพลกับการคุมระดับน้ำตาลสะสมในเลือด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ข้อเสนอแนะจากผลการศึกษาควรเพิ่มทักษะการเข้าถึงข้อมูล ด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ถูกต้องอย่างแพร่หลาย โดยมีบุคลากรทางการแพทย์และอาสาสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เป็นผู้สนับสนุนเพื่อให้เกิดความสะดวกและง่ายต่อการตัดสินใจในการเลือกวิธีปฏิบัติ เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วย

DSpace software copyright © 2002-2025 LYRASIS

  • Cookie settings
  • Privacy policy
  • End User Agreement
  • Send Feedback