Repository logo
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
Repository logo

UPDC

  • Communities & Collections
  • All of DSpace
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
  1. Home
  2. Browse by Author

Browsing by Author "ฌญาณี ใจกิ่วแล"

Now showing 1 - 1 of 1
Results Per Page
Sort Options
  • Loading...
    Thumbnail Image
    Item
    การศึกษาเปรียบเทียบกระบวนการบำบัดและฟื้นฟูสำหรับผู้ติดยาเสพติดด้วย ระบบบังคับบำบัดและสมัครใจบำบัด
    (มหาวิทยาลัยพะเยา, 2023) ฌญาณี ใจกิ่วแล
    การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบหลักการและสาระสำคัญของกระบวนการบำบัดฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด อำนาจหน้าที่หน่วยงานรัฐ เทียบเคียงบทบัญญัติของกฎหมาย สภาพปัญหาและความแตกต่าง ตลอดจน ข้อดี-ข้อเสียของระบบบังคับบำบัดและสมัครใจบำบัด เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาข้อมูลเอกสารจากพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 ประมวลกฎหมายยาเสพติด รวมถึงกฎหมายอื่น ๆ ตลอดจนเอกสารต่าง ๆ ทั้งของไทยและต่างประเทศ เพื่อนำมาวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา เปรียบเทียบ ผลการศึกษาพบว่า ระบบบังคับบำบัดและระบบสมัครใจบำบัดมีหลักการที่มีความสอดคล้องกัน คือ หลักผู้เสพ คือ ผู้ป่วยมิใช่อาชญากร หลักการเบี่ยงเบนคดีอาญา และหลักการลดทอนความเป็นอาชญากรรม โดยมีแนวทางการบำบัดฟื้นฟูที่แตกต่างกัน ซึ่งระบบบังคับบัดจะมีขั้นตอนของกระบวนการยุติธรรมควบคู่ไปกับการบำบัดฟื้นฟูด้านสาธารณสุข โดยมีหน่วยงานยุติธรรมเป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก แต่ระบบสมัครใจบำบัดจะดำเนินการตามแนวทางสาธารณสุขเท่านั้น โดยมีหน่วยงานสาธารณสุขเป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก ซึ่งปัจจุบันระบบบังคับบำบัดถูกยกเลิก และนำระบบสมัครใจมาบังคับใช้แทน ซึ่งก็ยังมีปัญหาการกระทำความผิดซ้ำและการไม่ให้ความ ร่วมมือในการบำบัดฟื้นฟู ผู้ศึกษาจึงเห็นควรเพิ่มเงื่อนไขของผู้มีสิทธิบำบัดฟื้นฟูให้ต้องไม่เคยหลบหนีหรือไม่ให้ความร่วมมือมาแล้วเกินกว่าสามครั้ง หรือเคยเป็นผู้เข้ารับบำบัดฟื้นฟูแต่ไม่ได้รับการรับรองเป็นหนังสือว่าเป็นผู้ผ่านการบำบัดฟื้นฟูที่น่าพอใจจากหัวหน้าสถานพยาบาลยาเสพติดหรือสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดเกินกว่าสามครั้ง เพื่อจำกัดขอบเขตให้ผู้ที่ต้องการสมัครใจบำบัดฟื้นฟูอย่างแท้จริง

DSpace software copyright © 2002-2025 LYRASIS

  • Cookie settings
  • Privacy policy
  • End User Agreement
  • Send Feedback