Repository logo
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
Repository logo

UPDC

  • Communities & Collections
  • All of DSpace
  • English
  • Català
  • Čeština
  • Deutsch
  • Español
  • Français
  • Gàidhlig
  • Latviešu
  • Magyar
  • Nederlands
  • Polski
  • Português
  • Português do Brasil
  • Suomi
  • Svenska
  • Türkçe
  • Қазақ
  • বাংলা
  • हिंदी
  • Ελληνικά
  • Yкраї́нська
  • Log In
    New user? Click here to register.Have you forgotten your password?
  1. Home
  2. Browse by Author

Browsing by Author "การิน ชัยวงศ์"

Now showing 1 - 1 of 1
Results Per Page
Sort Options
  • Loading...
    Thumbnail Image
    Item
    ผลกระทบของพลาสติกและโฟมต่อน้ำหนักตัว ความยาวลำตัว และการอยู่รอดของหนอนนก (Tenebrio molitor L.)
    (มหาวิทยาลัยพะเยา, 2020) การิน ชัยวงศ์; ศรุต แซงคำ
    ระยะหนอนของด้วงหนอนนก (Tenebrio molitor L.) นิยมใช้เป็นอาหารสัตว์กันอย่างแพร่หลาย ปัจจุบันขยะพลาสติกเป็นปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม หนอนนกจึงเป็นแมลงที่น่าสนใจในการใช้ย่อยสลายพลาสติกทางชีวภาพ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อตรวจสอบน้ำหนักตัว ความยาวลำตัว และการอยู่รอดของระยะตัวอ่อนของหนอนนกระหว่างระยะหนอนที่ 8-9 (หนอนวัยอ่อน, N=450 ตัว) และระยะหนอนที่ 12-13 (หนอนวัยแก่, N=450 ตัว) โดยหนอนนกทั้งสองระยะ (N=450, 450) ทดสอบด้วยการให้อาหารไก่เล็ก (90, 90) พลาสติกถุงร้อน (PP) (90, 90), พลาสติกถุงเย็น (PE) (90, 90), โฟม (PS) (90, 90) และขวดน้ำพลาสติก (PET) (90, 90) ทำการเก็บข้อมูล 15 ครั้ง ระยะเวลา 45 วัน ข้อมูลน้ำหนักตัว ความยาวลำตัว ร้อยละการอยู่รอด ร้อยละการตาย และการลอกคราบทำการวิเคราะห์ด้วยความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าน้ำหนักตัวและความยาวลำตัวของของหนอนนกทั้งสองช่วงวัย ของกลุ่มที่เลี้ยงด้วยอาหารพลาสติกทุกประเภทมีค่าลดลงแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p ≤0.05) กับกลุ่มควบคุม มากกว่านี้ พบว่าหนอนนกวัยแก่ที่เลี้ยงด้วยอาหารพลาสติก แสดงค่าร้อยละการอยู่รอด ร้อยละการตาย และความสามารถในการลอกคราบสูงกว่าหนอนนกวัยอ่อน นอกจากนี้หนอนนกวัยแก่มีร่องรอยการกัดกินพลาสติกชนิดต่าง ๆ โดยเฉพาะโฟม (PS) มากที่สุดเช่นเดียวกับหนอนนกวัยอ่อน ข้อมูลการศึกษานี้สามารถเป็นแนวทางสำหรับการเลือกนำหนอนนกระยะที่เหมาะสมไปใช้ในการลดจำนวนขยะพลาสติกในอนาคตต่อไป

DSpace software copyright © 2002-2025 LYRASIS

  • Cookie settings
  • Privacy policy
  • End User Agreement
  • Send Feedback